การตลาดดิจิทัล

Digital Marketing

1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและการดำเนินกิจกรรมผ่านการตลาดดิจิทัล  2. สามารถกำหนดกลยุทธ์การตลาดดิจิทัล  3. สามารถออกแบบและสร้างร้านดิจิทัล  4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่อการศึกษาเรียนรู้และประยุกต์ใช้ด้วยความรับผิดชอบความซื่อสัตย์สุจริต มีความคิดสร้างสรรค์ ความสนใจใฝ่รู้ ความขยัน ความประหยัด ความเชื่อมั่นในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของงานด้านการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน การวางแผนการตลาดดิจิทัลเพื่อการนำเสนอสินค้าและบริการอย่างเหมาะสม  และสามารถใช้ทักษะและความรู้ด้านสารสนเทศมาใช้กับโครงงานที่ได้รับมอบหมายอย่างสัมฤทธิผล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาดผ่านสื่อดิจิทัล การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการตลาดดิจิทัล การวิเคราะห์รูปแบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์ พฤติกรรมผู้บริโภคและสร้างฐานข้อมูล การใช้เครื่องมือทางการตลาดดิจิทัล การวางแผนและการพัฒนากลยุทธ์การตลาดดิจิทัลเพื่อเป็นช่องทางการขายและการสื่อสารการตลาด ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์ทางการตลาดเพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในองค์กรธุรกิจและอำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การวัด ประสิทธิผลของเครื่องมือการตลาดดิจิทัล จริยธรรมสำหรับการตลาดดิจิทัล
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ    -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม 
3. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
 
 
1.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 
2.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย
      ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
3.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 
4.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน 
5.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 
1.3 วิธีการประเมินผล
1.  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
2.  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 
3.  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 
4.  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1. สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา 

2. สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 

2.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 

3.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 

4.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 
 
1.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
3.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน  การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
2. มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
 
 
1.จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 4.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 5.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1.  ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
2.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
2.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
3.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
4.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1.การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 
2.พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
 
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 

2. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 

3. ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3.  ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข                  ได้
4.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
 
 
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
3.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
 
 
1.  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
 
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
4 การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ภาวุธ  พงษ์วิทยภานุและคณะ.E-Marketing เจาะเทคนิคการตลาดออนไลน์. กรุงเทพ ฯ: ตลาด ดอท คอม, 2551. 
 
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ  กุลฉัตร  ฉัตรกุล  ณ  อยุธยา.ระบบสารสนเทศทางการตลาด.  เชียงใหม่ :  ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ,  2550. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียรและกรภัทร สุทธิดารา, อินเทอร์เนตและอินทราเนต , กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย. วัชรพงศ์  ยะไวทย์, e-Commerce และกลยุทธ์การทำเงินบนอินเทอร์เนต , กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ,2543. ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ , E-Commerceในธุรกิจจริง-เรียนรู้จากกรณีศึกษาเด่นทั่วโลก, พิมพ์ครั้งที่ 1  : ซีเอ็ดยูเคชั่น  , 2545.    แมคแคลเรนและแมคแคลแรน , แบบฝึกหัดเพื่อการปฏิบัติจริง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบนอินเทอร์เนต , (แปลและเรียบเรียง โดย ECRC, NECTEC, NSTDA) : กิเลนการพิมพ์ ,2544. แอนดริว  เอส  ทาเนนบวม , เครือข่ายคอมพิวเตอร์ , (สัลยุทธ์ สว่างวรรณ, ผู้แปล), กรุงเทพฯ:  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น , อินโดไชน่า , 2542. อาณัติ ลีมัคเดช , E-Commerce เรียนรู้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ,กรุงเทพฯ : เอ.อาร์ บิซิเนสเพรส , 2546. ชาร์ลส์  เทรปเปอร์, ก้าวสู่ความเป็นหนึ่ง กับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, (อุไรวรรณ ชัยวิริยะกุล,ผู้แปล),กรุงเทพฯ : สามย่าน.com, 2544. อิทธิวัฒน์ รัตนพองบุ่,การตลาดอิเล็กทรอนิกส์,กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ วิตตี้กรุ๊ป,2555 E. Turban.,Electronic Commerce 2002 ; A Managerial Perspective, New Jersy :Prentice Hall , 2002. Judy  Strauss and Raymond  Frost., E - Marketing  2nded. , New Jersy : Prentice Hall , 2001.   Kotler  Phillip , Dipak C. Jain and Suvit Maesincee , Marketing Moves , : HBS. Press , 2001.  
 
http://mkpayap.payap.ac.th/course/MK424/ /MK424homepage.HTM หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ  วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ  
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา  ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้                 
1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน                 
1.2   แบบประเมิลผู้สอน  และแบบประเมินรายวิชา         
1.3    การติดต่อ ปรึกษา ส่งงานทางอีเมล์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน  ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้                 
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา                   
2.2  ผลงานกลุ่มของนักศึกษา                 
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
               3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  
             3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น 
4.2  การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น