กลยุทธ์การตลาด

Marketing Strategies

        เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาความหมาย บทบาท และความสำคัญของกลยุทธ์การตลาด การเลือกกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับตลาดในภาวะต่างๆ โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกธุรกิจ และพัฒนากลยุทธ์ ส่วนประสมการตลาดที่บูรณาการหน้าที่งานการตลาด และหน้าที่อื่นๆ ของธุรกิจได้
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับบทบาท และความสำคัญของกลยุทธ์การตลาด การเลือกกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับตลาดในภาวะต่างๆ โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกธุรกิจ และพัฒนากลยุทธ์ ส่วนประสมการตลาดที่บูรณาการหน้าที่งานการตลาด และหน้าที่อื่นๆ ของธุรกิจได้
ศึกษาหลักการและการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาด การใช้กลยุทธ์สำหรับส่วนตลาดแบบต่าง ๆ กลยุทธ์ทางธุรกิจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาดที่เหมาะสม
3 ชั่วโมง
มีความพอเพียงมีวินัยขยันอดทนเพียงพยายามตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
มีการจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมมีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชารวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลาส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอนมีการมอบหมายงานกลุ่มเน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่มเน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็นรวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตากรุณาความเสียสละและการทำประโยชน์แก่ชุมชน
1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ 2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 3. ประเมินการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 5. ปริมาณการทำทุจริตในการ
2.1.1   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.3   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของการวิชานั้นๆและเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงานโครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนรวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงนอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและการบรรยายในชั้นเรียนถามตอบ
1. การตอบรักภาคเรียนและฝ่ายภาคเรียน 2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ 3. การฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง 4. ผลงานจากการค้นคว้าและนำเสนอ 5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน 7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเช่นกันบ้างงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
1. สามารถสืบค้นตีความวิเคราะห์ข้อมูลและประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจและการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตัวเอง
1. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 2. กรณีศึกษาทางการจัดการโครงการงานวิจัยและกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 3. การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 4. การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์ 5. จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญาความคิดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆในสาขาและนอกสาขา
ประเมินจากการนำเสนอโครงงานรายงานผลการวิจัยอภิปรายกรณีศึกษาและประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มารวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่างและแสดงความคิดเห็นใหม่ๆได้อย่างสร้างสรรค์เพื่อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะ
1. ใช้การสอนโดนสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2. จะให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหา 4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบัน 5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดเห็นและร่วมกันทำงาน
1. การทดสอบย่อยรางภาค 2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนัก 3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์เครือข่ายและซอฟต์แวร์หรือสื่อต่างๆในทุกรายวิชาที่สามารถทำ
1. การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค 2. ผลและเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 3. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ประเมินจากข้อสรุปและอภิปรายงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิเคราะห์ตัวเลขซึ่งได้รับมอบหมายร่วม  แก้ไข
6.1.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริงและนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตำหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การปฏิบัติการการควบคุมการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 5. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 6. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลองหรือสถานการณ์จริงและความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม 3. พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าสู่ประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 4. การนำเสนอผลงานหรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษาการสื่อสารในบริบทต่างๆเพื่อคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5. นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA607 กลยุทธ์การตลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1 สอบกลางภาค/ สอบปลายภาค 9 และ 18 35% และ 35%
2 1.2, 2.1, 2.3, 3.1, 4.2, 5.2, 6.1, 6.2 เล่มรายงาน/การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 25%
3 1.2 การเข้าชั้นเรียน/การแต่งกาย/ความมีวินัย ตลอดภาคการศึกษา 5%
1. พิบูล ทีปะปาล. 2547. กลยุทธ์การตลาด: การตลาดสมันใหม่. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
2. อดุลย์ จาตุรงคกุล. 2545. กลยุทธ์การตลาด ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
     หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
     วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซต์ทางธุรกิจ
     7.1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     7.1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     7.1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
      7.2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
      7.2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
      7.2.3 ผลการประเมินผู้สอน
     7.3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     7.3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
     7.4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
     7.4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
     7.5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     7.5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น