วิทยาการข้อมูลเบื้องต้น

Fundamental of Data Science

ศึกษาความหมายของวิทยาการข้อมูล ประเภทข้อมูลและขั้นตอนวิทยาการข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคทางสถิติหรือการเรียนรู้ของเครื่อง และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ในมิตต่างๆ รวมถึงฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องมือในงานวิทยาการข้อมูล
ศึกษาความหมายของวิทยาการข้อมูล ประเภทข้อมูลและขั้นตอนวิทยาการข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคทางสถิติหรือการเรียนรู้ของเครื่อง และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ในมิตต่างๆ รวมถึงฝึกปฎิบัติการใช้เครื่องมือในงานวิทยาการข้อมูล
3.1 วันพุธ 15.00 -16.00 น. ห้อง ABL202 หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3.2 E-mail; kanithahomjun@gmail.com เวลา 19.00 - 21.00 น. ทุกวัน 3.3 เข้าชั้นเรียนได้ที่ Team code = sts0izp หรือ https://bit.ly/2Y64Hhe
 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต   1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม   1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ   1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเป็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์   1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม   1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจาการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม   1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน  การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem based learning และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ    2.2 สามารถวิเคราะห์ เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา   2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด   2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์   2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง   2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ   2.7 มีประสบการณืในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง  2.8 สามารถบูรณาการความรู้สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  แก้ไข
1. บรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์  2.เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
1.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี  2. นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  3.วิเคราะห์กรณีศึกษา 
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ    3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์    3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ    3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม  แก้ไข
สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีทักษะทางปัญหาสอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้  (1)คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (2)  สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (3)   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  (4)   สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.สอบกลางภาคและปลายภาค   2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา  แก้ไข
4.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธภาพ    4.2  สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานะการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน    4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม    4.4  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม    4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม    4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2.   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่มีอยู่ในปัจจุบัน มาศึกษา  3.การนำเสนอรายงาน
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  3.   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์    5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวชข้องอย่างสร้างสรรค์    5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม    5.4 สามารถใช้สารสรนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  5.2.3 สอนโดยชื่อสื่อการสอน Power Point
1 . ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCS606 วิทยาการข้อมูลเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.1,2.2 การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 5,15 20%
3 3.4,3.4 การสอบกลางภาค 9 30%
4 4.4,5.1,5.2,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 15%
5 2.1,2.2,3.1,3.2 การสอบปลายภาค 16 30%
•https://www2.cs.science.cmu.ac.th/courses/204123/lib/exe/fetch.php?media=204123-book.pdf
• Bath Brindle (Feb. 2020). How Does Google Maps Predict Traffic? https://electronics.howstuffworks.com/how-does-google-mapspredict-traffic.htm. Accessed on 3 August 2020
• ณัฐพล ม่วงทํา(2563). DATA-DRIVEN MARKETING การตลาดแบบฉลาดใช้ดาต้า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ฮาวทู อมรินทร์พรินติ้ง แอนด์พับลิชชิง .
• Prevos, Peter (2019). Principles of Strategic Data Science: Creating Value from Data, Big and Small. Birmingham, United Kingdom: Packt Publishing
• Simplilearn. Data Science In 5 Minutes | Data Science For Beginners | What Is Data Science?. https://www.youtube.com/watch?v=X3paOmcrTjQ&t=22s.
• Mohammed J. Zaki and Wagner Meira Jr (2014). Data Mining and Analysis: Fundamental Concepts and Algorithm. New York, USA: Cambridge University Press.
• Baijayanta Roy (2019). All about Categorical Variable Encoding. url: https://towardsdatascience.com/all-about-categorical-variableencoding-305f3361fd02.
• Craig K. Enders (2010). Applied Missing Data Analysis. New York, USA: Guilford Press.
• Comic Characters (2015). Accessed on 05 October 2019. url: https://github.com/fivethirtyeight/data/tree/master/comiccharacters
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิช
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ได้แก่ ด้านการสอน ด้านสื่อ ด้านประเมิน และด้านปกครอง
4.1  ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา จากการตั้งคำถามต่างๆ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักศึกษา   4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษา ผลการสอบกลางภาค และผลการสอบปลายภาค   4.3  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ คะแนนสอบ  และคะแนนพฤติกรรมการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน  แก้ไข
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินการโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา   5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา   5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)