การเขียนแบบวิศวกรรมยานยนต์

Automotive Engineering Drawing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแบบตามเครื่องจักรที่ผลิต การกำหนดสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน การเขียนแบบสั่งงานของชิ้นส่วนยานยนต์ แบบภาพประกอบ แบบแยกชิ้น และการใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปทางด้านการออกแบบและวิเคราะห์ชิ้นส่วนยานยนต์   
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะด้านการเขียนแบบรวมถึงกระบวนการผลิต การกำหนดขนาดมาตรฐานผิว ระบบงานสวมความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิตของงานเขียนแบบเพื่อสั่งงาน การเชื่อม และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบสั่งงานและวิเคราะห์ชิ้นส่วนยานยนต์     
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแบบและกระบวนการผลิต การกำหนดขนาดรูปลักษณ์มาตรฐาน ความหยาบของผิวงาน ระบบงานสวมและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน การเชื่อม การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ เช่น การเขียนชิ้นส่วนยานยนต์ การเขียนแบบสั่งงาน แบบภาพประกอบ แบบแยกชิ้น เป็นต้น และการใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปทางด้านการออกแบบและวิเคราะห์ชิ้นส่วนยานยนต์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่องานที่รับผิดชอบ
1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่มหรือบุคคล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และตรงเวลา
1.3.2 งานที่มอบหมาย
2.1.1 การเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลตามเครื่องจักรที่ผลิต
2.1.2 การกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานงานเขียนแบบ
2.1.3 เขียนแบบชิ้นส่วนยานยนต์
2.1.4 เขียนแบบสั่งงาน แบบภาพประกอบ แบบแยกชิ้น
2.1.5 เขียนแบบสั่งงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2.1.6 การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปทางด้านการออกแบบและวิเคราะห์ชิ้นส่วนยานยนต์
บรรยาย ถาม ตอบ กำหนดงานหรือมอบหมายงาน
2.3.1 งานที่มอบหมาย
2.3.2 สอบกลางภาค
2.3.3 สอบปลายภาค
พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแบบ และการเขียนแบบสั่งงานได้อย่างถูกต้อง
3.2.1 มอบหมายงาน
3.2.3 นำเสนอวิธีการทำงาน ขั้นตอนการออกแบบ
3.3.1 งานที่มอบหมาย
3.3.2 การแก้ปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 การนำเสนองาน
4.3.1 ประเมินจากการนำเสนอ
4.3.2 ประเมินจากงาน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอ
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากงานที่มอบหมาย
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ความรู้ 2.ทักษะ 3.จริยธรรม 4.ลักษณะบุคคล
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 ENGAE003 การเขียนแบบวิศวกรรมยานยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 ,2.4 3.3,5.1 5.4 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 5 % 30 % 5 % 30 %
2 1.5,2.5 3.3,3.4 5.1,5.4 งานที่มอบหมาย 16 20 %
3 1.2,6.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
มาตรฐานงานเขียนแบบของ DIN และ JIS
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนรายสัปดาห์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ขอบเขตของงานที่นักศึกษาทำ
2.3 ทวนการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ