โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

Computer Architecture and Organization

1. เพื่อให้มีความรู้ในหลักการทางด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 2. เพื่อให้เข้าใจหลักการทํางานของคอมพิวเตอร์และโครงสร้างคอมพิวเตอร์
3 เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจหลักการทํางานของส่วนต่างๆของคอมพิวเตอร์
4. เพื่อเรียนรู้และเข้าใจพัฒนาการของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ
5. เพื่อให้เข้าใจในเรืองโครงสร้างของระบบจัดการของคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ ในหลักการทางด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐาน ซึงจะเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาวิชาของวิทยาการคอมพิวเตอร์
โครงสร้างพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ การแทนข้อมูลและระบบตัวเลข แนวความดิดของวงจรตรรกะ และวงจรคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําและการอ้างอิงตําแหน่ง การควบคุมโดยใช้ไมโครโปรแกรม ระบบการควมคุมการทํางานและระบบการขนส่งข้อมูล การจัดการ อุปกรณ์รับและส่งข้อมูล การเชื่อมโยงอุปกรณ์ภายนอก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ หรือ elearning.rmutl.ac.th หรือ facebook หรือ ไลน์กลุ่ม หรือ บอร์ดหน้าแผนก หรือ ทุกๆ ช่องทางที่สื่อสารกับ นศ. ได้
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
          ˜ 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
          ˜ 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
          ˜ 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
          ˜ 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
          ˜ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
          ˜ 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
          ˜ 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ เช่น การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  2. การจัดทำรายงานในด้านเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน ร่วมกันทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานเพื่อฝึกการมีส่วนร่วมและเคารพสิทธิในการทำงานร่วมกัน 
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2.  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  3.  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 
2. ด้านความรู้       2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ       2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา       2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด       2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์       2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง       2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ       2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง       2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. บรรยาย 
2. อภิปราย 
3. การทำงานกลุ่ม 
4. การนำเสนอรายงาน 
5. มอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ   
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้น การวัดหลักการ การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี 
2. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และบทสรุปประเด็นสำคัญที่เรียนรู้
รายงานเดี่ยว/กลุ่ม โดยนำเสนอเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์จากการอ่านและการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
   3. ด้านทักษาะทางปัญญา
          ˜ 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
          ˜ 3.2สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
          ˜ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
          ˜ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างจากสื่อประกอบ 
2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานพิเศษ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา   
1. สอบกลางภาค และปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา  2. การรายงานและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน   
    1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ      2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน      3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม     4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม      5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม      6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล   2. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา   
1. รายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา 
1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์  3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม  4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม   
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยมีการอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ มีการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เปรียบเทียบแหล่งที่มาของข้อมูล  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม     
1. การจัดทำ และนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายทั้งในชั้นเรียนและกระดานสนทนา 
สามารถใช้เครื่องมือฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง    ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมได้อย่างเป็นระบบ    โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านการเขียนโปรแกรม ดังนี้            
6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1 )            
6.1.2   มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2 ) 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้             1  สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน             2  สาธิตการปฏิบัติการการเขียนและการรันโปรแกรม              3  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต             4  นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม   เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ และลงมือเขียนโปรแกรมด้วยใจ             5  อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการเขียนโปรแกรมและดูแลฝึกทักษะตลอดเวลา
1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน          2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน          3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ          4 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา          5 มีการให้คะแนนผลการปฏิบัติงานเขียนโปรแกรมในด้านต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ทักษะด้านปัญญา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE121 โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5, 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 สอบกลางภาค (ทฤษฎี), สอบกลางภาค (ปฏิบัติ), สอบปลายภาค (ทฤษฎี), สอบปลายภาค (ปฏิบัติ) 9, 9, 17, 17 20%, 10%, 20%, 10%
2 3.1.1 - 3.1.5, 4.1.1 - 4.1.5, 5.1.1 - 5.1.5, 6.1.1 - 6.1.2 การส่งแบบฝึกหัดในห้องเรียนทฤษฎี, การส่งงานตามที่มอบหมาย, การเขียนโปรแกรมทุกใบงาน, การรันโปรแกรมผ่านทุกขั้นตอนของใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 7.5%, 7.5%, 5%, 5%
3 1.1.1 - 1.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 การเข้าชั้นเรียน, การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
Miles J. Murdocca., Vincent P. Heuring., Principlesof Computer Architecture, Class Test Edition, Prentice Hall, 1999
Gibson, Glenn A. 1987 Microcomputer for engineers and Scientists.Prentice-Hall Inc Editions.
Fulcher, John. 1989 An Introduction to Microcomputer Systems Architecture and Interfaces Addison-Wesley Publishing Company.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้             1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน             1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา             1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้              2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน              2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา              2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้             3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน             3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้             4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร             4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน  และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน  และรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ ปรับปรุงรายวิชาทุก  3   ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4