พลศาสตร์วิศวกรรมของล้อเลื่อน

Dynamic of Rolling Stock Engineering

เพื่อศึกษา ประวัติความเป็นมาและพื้นฐานของระบบล้อเลื่อน และองค์ประกอบหลักของระบบล้อเลื่อน ภาพรวมของพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของระบบล้อเลื่อน พลศาสตร์การเคลื่อนที่ตามแนวยาว (การวิ่งทางตรง และการเบรค) พลศาสตร์การเคลื่อนทางโค้ง ปฏิกิริยาสัมผัสระหว่างล้อกับรางรถไฟ เสถียรภาพในการขับขี่ โบกี้ ระบบล้อเลื่อน ระบบช่วงล่าง ระบบห้ามล้อ และตัวถังตู้โดยสาร การติดตามและการบำรุงรักษาระบบล้อเลื่อน หลักการออกแบบเบื้องต้นของระบบล้อเลื่อนและตู้โดยสารรถไฟ การจำลองสถานการณ์การเคลื่อนที่ของรถไฟด้วยคอมพิวเตอร์
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1.1.5 สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อธิบายความสำคัญและผลกระทบเนื่องจาก การมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม พร้อมกับตกลงเงื่อนที่ต้องกระทำร่วมกัน 1.2.2 แนะนำให้แต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และอธิบายความสำคัญ 1.2.3 มอบหมายการทำงานกลุ่มนั้น ฝึกให้รู้หน้าที่ของตน มีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามตามงานต่างๆที่มอบหมาย สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.2.4 คอยควบคุมดูแล ไม่กระทำการทุจริตในการสอบ การบ้าน การทำงานที่มอบหมายต่างๆ รู้จักการให้เครดิตผลงานของผู้ร่วมงาน พร้อมทั้งตั้งเงื่อนไขลงโทษร่วมกันเมื่อทำการทุจริต 1.2.5 ให้อธิบายผลกระทบของการรับผิดชอบงานตอนเองต่อภาพรวมของงานกลุ่ม
1.3.1 ให้คะแนนจากการ เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลาเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่มอบหมาย ความรับผิดชอบงานเฉพาะบุคลเมื่อทำงานกลุ่ม 1.3.2 ให้คะแนนจากการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.3.3 ให้คะแนนการทำงานกลุ่ม โดยประเมินจากคะแนนการทำหน้าที่ การรับผิดชอบเฉพาะคน การมีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม การแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.3.4 ตัดคะแนนตามความรุนแรงของ การกระทำการทุจริต ด้านการสอบ การลอกการบ้าน การละเมิดผลงานของผู้ร่วมงาน 1.3.5 ให้คะแนนจากผลสำเร็จของงานกลุ่ม ที่เกิดจากงานเฉพาะบุคคลที่ส่งผลต่อผลของงานกลุ่ม
ประวัติความเป็นมาและพื้นฐานของระบบล้อเลื่อน และองค์ประกอบหลักของระบบล้อเลื่อน ภาพรวมของพลศาสตร์การเคลื่อนที่ของระบบล้อเลื่อน พลศาสตร์การเคลื่อนที่ตามแนวยาว (การวิ่งทางตรง และการเบรค) พลศาสตร์การเคลื่อนทางโค้ง ปฏิกิริยาสัมผัสระหว่างล้อกับรางรถไฟ เสถียรภาพในการขับขี่ โบกี้ ระบบล้อเลื่อน ระบบช่วงล่าง ระบบห้ามล้อ และตัวถังตู้โดยสาร การติดตามและการบำรุงรักษาระบบล้อเลื่อน หลักการออกแบบเบื้องต้นของระบบล้อเลื่อนและตู้โดยสารรถไฟ การจำลองสถานการณ์การเคลื่อนที่ของรถไฟด้วยคอมพิวเตอร์
2.2.1 การอธิบายผ่านสไลด์ Power Point การเขียนบนกระดานหรือบนภาพฉายแบบ Rail Time การยกตัวอย่าง การให้ทำแบบฝึกหัด  การถามตอบตลอดช่วงเวลาที่สอนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ การมอบหมายการบ้านทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว เพื่อตรวจอสอบความเข้าในในเนื้อหาที่สอน  
2.3.1. การให้คะแนนจากการส่งงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว 2.3.2. การสอบย่อย 2.3.3. การสอบกลางภาคเรียน 2.3.4. การสอบปลายภาคเรียน
3.1.1 สามารถแก้โจทย์ปัญหาที่ประยุกต์จากเนื้อหาพื้นฐานเรื่องต่อไปนี้
พลศาสตร์การเคลื่อนที่ตามแนวยาว (การวิ่งทางตรง และการเบรค) พลศาสตร์การเคลื่อนทางโค้ง ปฏิกิริยาสัมผัสระหว่างล้อกับรางรถไฟ เสถียรภาพในการขับขี่ โบกี้ ระบบล้อเลื่อน ระบบช่วงล่าง ระบบห้ามล้อ และตัวถังตู้โดยสาร หลักการออกแบบเบื้องต้นของระบบล้อเลื่อนและตู้โดยสารรถไฟ 
3.2.1 มอบหมายโจทย์ประยุกต์ที่แตกต่างจากตัวอย่าง มอบหมายให้ค้นคว้านอกห้องเรียน ทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว   
3.3.1 ประเมินคะแนนความถูกต้อง ความคิดสร้างสรรค์ ในโจทย์งานที่มอบหมายดังเนื้อหาข้อ 3.2 โดยประเมินจาก 3.3.1. งานกลุ่มและงานเดี่ยว 3.3.2. การสอบย่อย 3.3.3. การสอบกลางภาคเรียน และ 3.3.4. การสอบปลายภาคเรียน
4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นาและผู้ตาม  4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ  4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มสามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำมาเสนอทั้งรายบุคคลและกลุ่ม 4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 4.3.3 ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน
5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย  5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม 5.1.3 คำนวณ พลศาสตร์การเคลื่อนที่ตามแนวยาว (การวิ่งทางตรง และการเบรค) พลศาสตร์การเคลื่อนทางโค้ง ปฏิกิริยาสัมผัสระหว่างล้อกับรางรถไฟ เสถียรภาพในการขับขี่ โบกี้ ระบบล้อเลื่อน ระบบช่วงล่าง ระบบห้ามล้อ และตัวถังตู้โดยสาร หลักการออกแบบเบื้องต้นของระบบล้อเลื่อนและตู้โดยสารรถไฟ 
5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษานอกชั้นเรียน เช่น จากช่องทางออนไลน์ต่างๆ 5.2.2 ให้นำเสนอผลงาน ด้วยสื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.3 แสดงตัวอย่างการคำนวณอย่างเป็นขั้นตอน และถูกต้อง
5.3.1 ประเมินจากความเกี่ยวข้อง และความถูกต้องของเนื้อหาที่ นักศึกษาได้ทำการสืบค้นด้วยตนเอง 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อสารสนเทศที่เหมาะสม ที่ทำให้ผู้รับสื่อเข้าใจง่าย  5.2.3 การแสดงผลการคำนวณที่มีขั้นตอนและถูกต้อง  แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 4 5 1 2 4 5 1 2 3 5 3 4 3 4 5
1 ENGRT102 พลศาสตร์วิศวกรรมของล้อเลื่อน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1, 2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 3, 4 สอบปลายภาค 6 8 9 11 13 17 5% 5% 30% 5% 5% 30%
2 1.3, 2.2, 3.2, 5.2, การส่งงานตามที่มอบหมาย ตรงต่อเวลา รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.2,4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. Railway track maintenance I
2. Esveld C. - Modern Railway Track