การออกแบบและจัดการเนื้อหาดิจิทัล
Digital Content Design and Management
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะ เกี่ยวกับการออกแบบและจัดการเนื้อหาดิจิตอล ตามคำอธิบายรายวิชากำหนด
2. เพื่อให้นักศึกษามีจริยธรรมและลักษณะบุคคล ทางด้านการออกแบบและจัดการเนื้อหาดิจิทัล ที่ดีและเหมาะสมสำหรับงานธุรกิจ
2. เพื่อให้นักศึกษามีจริยธรรมและลักษณะบุคคล ทางด้านการออกแบบและจัดการเนื้อหาดิจิทัล ที่ดีและเหมาะสมสำหรับงานธุรกิจ
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานในการสร้างเนื้อหาดิจิทัล ความสำคัญของเนื้อหาดิจิทัล โครงสร้างเนื้อหาดิจิทัล ขั้นตอนการจัดทำเนื้อหาดิจิทัล การเลือกหัวข้อในการสร้างเนื้อหาดิจิทัลให้น่าสนใจ ศิลปะการเล่าเรื่อง เทคนิคการสร้างเนื้อหาดิจิทัลให้ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน การเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อหาดิจิทัล เครื่องมือในการสร้างเนื้อหาดิจิทัล กรณีศึกษาในการสร้างเนื้อหาดิจิทัล
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1) สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
2) ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3) กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
2) ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3) กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
1) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3) การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
4) ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
5) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3) การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
4) ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
5) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
3) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
3) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3) การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3) การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2) ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสน
3) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
4) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
5) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
2) ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสน
3) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
4) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
5) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
1) คิดอย่างมีวิจารณญานและอย่างเป็นระบบ
2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
1) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย)
2) การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
3) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
2) การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
3) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
2) การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ
3) การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา
2) การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ
3) การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา
1) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
3) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
3) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1) มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
2) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
2) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1) การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2) พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3) สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2) พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3) สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
1) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3) มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3) มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
2) พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
3) ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
3) ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสามารถในการออกแบบและสร้างผลงานตามที่โจทย์ที่กำหนด
กำหนดโจทย์ความต้องการของงาน แล้วให้นักศึกษาออกแบบและสร้างผลงาน อย่างน้อยสองชิ้นงานขึ้นไป โดยต้องมีทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
1) การสร้างผลงานได้ตรงตามที่โจทย์ต้องการ
2) ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
3) ความประณีตสวยงาม
4) ความถูกต้องของข้อความ
5) ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
6) การทำงานร่วมกันเป็นทีม
2) ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
3) ความประณีตสวยงาม
4) ความถูกต้องของข้อความ
5) ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
6) การทำงานร่วมกันเป็นทีม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBAIS302 | การออกแบบและจัดการเนื้อหาดิจิทัล |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2, 3 | สอบกลางภาค | 8 | 15% |
2 | 2, 3 | สอบปลายภาค | 17 | 15% |
3 | 1 | ตรวจความรับผิดชอบ และความตรงต่อเวลา | 1-17 | 10% |
4 | 1, 2, 3, 4, 5, 6 | ตรวจผลงานตามที่ผู้สอนมอบหมาย | 1-17 | 60% |
สัจจธรรม สุภาจันทร์. (2553). หลักคอมพิวเตอร์กราฟิก. กรุงเทพฯ : วังอักษร.
ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช. (2560). สื่อดิจิทัลใหม่...สื่อแห่งอนาคต. กรุงเทพฯ. บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, สถาบัน.
มรุเดช มุกดา. (2565). Content Marketing เนื้อหาเจาะลึกกลยุทธ์โครงสร้าง. กรุงเทพฯ.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านสังคมออนไลน์ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การประชุมหารือร่วมกันในที่ประชุมของหลักสูตร
2.2 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์นักศึกษา
นำข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากข้อ 2 มาแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการสอนให้ดียิ่งขึ้น
4.1 ประชุมหารือร่วมกันในที่ประชุมของหลักสูตร เป็นเบื้องต้น
4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อทวนสอบในรายวิชา
5.1 ปรับปรุงการสอน ตามข้อเสนอแนะที่ได้จากข้อ 4
5.2 นำเสนอวาระการประชุม เกี่ยวกับการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในการประชุมหลักสูตร