ระบบการผลิตอัตโนมัติ

Automation

1. เข้าใจพื้นฐานระบบและธรรมชาติ ของการควบคุมอัตโนมัติ
2. เข้าใจการประยุกต์ใช้การควบคุมอัตโนมัติในงานวิศวกรรม
3. รู้จักทฤษฎีการควบคุมอัตโนมัติ
4. รู้จักลักษณะและวิธีการของเซนเซอร์
5. เข้าใจระบบการทำงานของไฮโดรลิกส์และนิวแมติกส์
6. รู้จักวิธีการทางสถิติในการพัฒนาระบบประยุกต์
7. เห็นความสำคัญของระบบการควบคุมอัตโนมัติ ที่มีต่องานวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางระบบการผลิตอัตโนมัติ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบควบคุมการผลิตอัตโนมัติ เซนเซอร์ ระบบไฮดรอลิกและระบบนิวเมติกส์ อุปกรณ์ส่งกำลังแบบไฟฟ้า พีแอลซี การเชื่อมโยงการผลิตระบบขนถ่ายลำเลียงอัตโนมัติ พื้นฐานการใช้หุ่นยนต์ในงานด้านอุตสาหกรรม
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- ระเบียบวินัย เช่น เวลาเข้าเรียน การแต่งกาย กำหนดเวลาของงานที่ได้รับมอบหมาย - ความรับผิดชอบ เช่น ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ระเบียบของห้องเรียน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ชุดทดลองต่าง ๆ กระดานดำ การประหยัดพลังงาน เช่น เครื่องปรับอากาศ พัดลม ไฟฟ้าแสงสว่าง - ซื่อสัตย์ สุจริต เช่น การตอบคำถาม การทำงานมอบหมาย การทำรายงาน การสอบ
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เงื่อนไขการทำงานของเครื่องจักรจริง ลักษณะงานในอุตสาหกรรม
- เวลาเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินเป็นระดับคะแนน
รายบุคคล
- ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ระเบียบของห้องเรียนประเมินเป็นระดับคะแนนรวมทั้งห้อง
- การตอบคำถาม การทำงานมอบหมาย การสอบ ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ความซื่อสัตย์ สุจริต ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
มีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยในการสร้างชิ้นงานแบบ 2 มิติ 3 มิติ พื้นผิว ทรงตัน การควบคุมเชิงตัวเลข การเขียนโปรแกรมควบคุมเชิงตัวเลข อุปกรณ์ขับเคลื่อนระบบ การอินเทอโปเลทในระบบการผลิต โปรแกรมควบคุมเครื่องจักร เครื่องจักรกลที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์สมบัติทางกลของชิ้นงาน หลักการเลือกอุปกรณ์เครื่องมือและการควบคุมให้เหมาะสมและประยุกต์ใช้งานงานกัด งานกลึง
- บรรยาย ตั้งคำถาม แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน วิเคราะห์อภิปรายผลการทำลอง สรุปผล
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฎีและปฏิบัติ
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค (ภาคปฏิบัติ) ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดผลด้านทักษะ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลองตามใบงาน - อภิปรายกลุ่ม - วิเคราะห์สรุปผลการทดลอง
- ตรวจแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติงานตามใบงาน - อภิปรายสรุปผลการทดลอง
- ประเมินผลตามใบประเมินผล
- ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการอภิปรายในกลุ่มปฏิบัติการทดลอง - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรมควบคุมเครื่องจักร เครื่องจักรกลที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
 
- มอบหมายงานแบบฝึกหัดให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง - มอบหมายงานในใบงานภาคปฏิบัติให้ฝึกคิดแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม
 
- ผลจากการประเมินการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการอภิปรายกลุ่มโดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
- มอบหมายงานให้นักศึกษาและกำหนดระยะเวลาในการส่งงาน
- การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างถูกวิธีและการบำรุงรักษา
- นักศึกษาส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
- มีการกำหนดคะแนนในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGIE138 ระบบการผลิตอัตโนมัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1,2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 20% 20%
2 1.2.3 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.3.1,2.2.1,5.2.1 แบบฝึกหัดกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 5.1.2,5.2.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ปลายภาคการศึกษา 15%