พื้นฐานวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ
Fundamental of Automation
1.1 เข้าใจพื้นฐานของเทคนิคในการควบคุมและการประยุกต์การใช้งานการควบคุมระบบกลไก
1.2 เข้าใจหลักการควบคุมระบบไฟฟ้า
1.3 เข้าใจหลักการควบคุมระบบนิวเมติก การควบคุมระบบไฮดรอลิกส์
1.4 เข้าใจรูปแบบการควบคุมระบบการย้อนกลับ
1.5 เข้าใจหลักการควบคุมด้วยพีแอลซี
1.6 เข้าใจหลักการเซ็นเซอร์ ระบบการควบคุมอนาลอกแบบไบนารี และระบบดิจิตอล
1.7 เข้าใจหลักการระบบเครื่องมือกลแบบซีเอนซี
1.8 เข้าใจหลักการกรรมวิธีการผลิตแบบยืดหยุ่นปรับตัวได้
1.9 เข้าใจหลักการหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตและวิเคราะห์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมอัตโนมัติด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตและวิเคราะห์ ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประยุกต์ใช้งานร่วมกับงานควบคุมอัตโนมัติ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตและวิเคราะห์ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของเทคนิคในการควบคุมและการประยุกต์การใช้งานการควบคุมระบบกลไก การควบคุมระบบไฟฟ้า การควบคุมระบบนิวเมติก การควบคุมระบบไฮดรอลิกส์ การควบคุมระบบการย้อนกลับ พีแอลซี เซ็นเซอร์ ระบบการควบคุมอนาลอกแบบไบนารี และระบบดิจิตอล ระบบเครื่องมือกลแบบซีเอนซี กรรมวิธีการผลิตแบบยืดหยุ่นปรับตัวได้ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- ระเบียบวินัย เช่น เวลาเข้าเรียน การแต่งกาย กำหนดเวลาของงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความรับผิดชอบ เช่น ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ระเบียบของห้องเรียน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ชุดทดลองต่าง ๆ กระดานดำ การประหยัดพลังงาน เช่น เครื่องปรับอากาศ พัดลม ไฟฟ้าแสงสว่าง
- ซื่อสัตย์ สุจริต เช่น การตอบคำถาม การทำงานมอบหมาย การทำรายงาน การสอบ
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เงื่อนไขการทำงานของเครื่องจักรจริง ลักษณะงานในอุตสาหกรรม
- เวลาเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินเป็นระดับคะแนน
รายบุคคล
- ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ระเบียบของห้องเรียนประเมินเป็นระดับคะแนนรวมทั้งห้อง
- การตอบคำถาม การทำงานมอบหมาย การสอบ ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ความซื่อสัตย์ สุจริต ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
รายบุคคล
- ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ระเบียบของห้องเรียนประเมินเป็นระดับคะแนนรวมทั้งห้อง
- การตอบคำถาม การทำงานมอบหมาย การสอบ ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
- ความซื่อสัตย์ สุจริต ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของเทคนิคในการควบคุมและการประยุกต์การใช้งานการควบคุมระบบกลไก การควบคุมระบบไฟฟ้า การควบคุมระบบนิวเมติก การควบคุมระบบไฮดรอลิกส์ การควบคุมระบบการย้อนกลับ พีแอลซี เซ็นเซอร์ ระบบการควบคุมอนาลอกแบบไบนารี และระบบดิจิตอล ระบบเครื่องมือกลแบบซีเอนซี กรรมวิธีการผลิตแบบยืดหยุ่นปรับตัวได้ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- บรรยาย ตั้งคำถาม แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน วิเคราะห์อภิปรายผลการทำลอง สรุปผล
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฎีและปฏิบัติ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทดลองตามใบงาน
- อภิปรายกลุ่ม
- วิเคราะห์สรุปผลการทดลอง
- สอบกลางภาคและปลายภาค(ภาคปฏิบัติ) โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือเงื่อนไขการงานของเครื่องจักร CNC ที่มีใช้งานอยู่จริง
- วัดผลประเมินผลจากผลการปฏิบัติ
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
- แบ่งกลุ่มปฏิบัติงานตามใบงาน
- อภิปรายสรุปผลการทดลอง
- ประเมินผลตามใบประเมินผล
- ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการอภิปรายในกลุ่มปฏิบัติการทดลอง
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม
- มอบหมายงานแบบฝึกหัดให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
- มอบหมายงานในใบงานภาคปฏิบัติให้ฝึกคิดแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม
- ประเมินจากแบบฝึกหัด
- ประเมินในประเมินผลภาคปฏิบัติ
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ ดังนั้น ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ ดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการใช้งาน และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักการ
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา
6.2.3 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาของกรณีศึกษาและตัวอย่างวิธีแก้ปัญหา ที่เหมาะสม
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา
6.2.3 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาของกรณีศึกษาและตัวอย่างวิธีแก้ปัญหา ที่เหมาะสม
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ ในเรื่องเวลา วิธีการและผลงานที่ได้รับ การทำงานร่วมกัน
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเขียนโปรแกรมและจดบันทึก
6.3.4 พิจารณาผลการปฏิบัติงานการเขียนโปรแกรมในชั้นเรียน
6.3.5 ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานโปรแกรมต่างๆ โดยเปิดเผย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGTD116 | พื้นฐานวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.2,4.1.3 | 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแต่งตัว ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ประเมินจาก การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3) ประเมินจาก ปริมาณการกระทำทุจริต ในด้านการส่งงาน การนำเสนอผลงานและการสอบของนักศึกษา | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
2 | 2.1.2,2.1.4 | 1) ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 2) สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี 3) ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4) สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นข้อสอบที่มีมีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี | 4 8 12 17 | 5% 20% 5% 20% |
3 | 3.1.1,5.1.1, 6.1.1 | 1) วัดผลจากทักษะในการลงมือปฏิบัติตามใบงานตามที่ได้รับมอบหมายและคุณภาพของใบงานที่ทำเสร็จแล้ว 2) ประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแก้ปัญหาจาก Case Study ที่มอบหมาย (Flip Study) | ตลอดภาคการศึกษา | 20% 10% |
- Fundamentals of Automatic Control : Book -หนังสือระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม
เอกสารประกอบการสอนจากอาจารย์ผู้สอน
เว็บไซต์ ในหัวเรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ