ธรณีเทคนิค

Geotecniques

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกับคุณสมบัติและการจำแนกวัสดุทางธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยากับงานด้านวิศวกรรมธรณี วิศวกรรมหินเบื้องต้น วิศวกรรมการขุดเจาะบนพื้นดินและใต้ดิน การเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการออกแบบ
2.1 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านปฐพีกลศาสตร์เบื้องต้น
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านอุทกธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมธรณี 
2.3 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านวิศวกรรมหินเบื้องต้น
2.4 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านวิศวกรรมการขุดเจาะบนพื้นดิน
2.5 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านวิศวกรรมการขุดเจาะใต้ดิน
2.6 เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ด้านเทคนิคการสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลในภาคสนาม
ศึกษาคุณสมบัติและการจำแนกวัสดุทางธรณีวิทยา อุทกธรณีวิทยากับงานด้านวิศวกรรมธรณี วิศวกรรมหินเบื้องต้น วิศวกรรมการขุดเจาะบนพื้นดินและใต้ดิน การเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการออกแบบ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
    1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
    1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    1.1.4 สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล  องค์กร  สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
    1.2.1 บรรยายพร้อมยกประเด็นตัวอย่างเกี่ยวกับจริยธรรม ความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพด้านวิศวกรรมเหมืองแร่ การนำเอาวิชาชีพไปใช้อย่างซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้ วิชาชีพในการแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงสังคมและผู้ประกอบการที่อาจจะได้รับความเสียหายได้
    1.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความเห็น ความรับผิดชอบต่อสังคม
    1.2.3 ให้นักศึกษาค้นคว้าปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในการใช้วิชาชีพและนำมาเสนออภิปรายกลุ่ม
    1.2.4 ให้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
    2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจด้านปฐพีกลศาสตร์เบื้องต้น
    2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจด้านอุทกธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมธรณี 
    2.1.3 มีความรู้ความเข้าใจด้านวิศวกรรมหินเบื้องต้น
    2.1.4 มีความรู้ความเข้าใจด้านวิศวกรรมการขุดเจาะบนพื้นดิน
    2.1.5 มีความรู้ความเข้าใจด้านวิศวกรรมการขุดเจาะใต้ดิน
    2.1.6 มีความรู้ความเข้าใจด้านเทคนิคการสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลในภาคสนาม
    2.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับงานธรณีเทคนิค มีการยกตัวอย่างจริงของรูปแบบต่างๆที่มีความสำคัญ มาประกอบการเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติให้เข้าใจอย่างถูกต้อง
    2.2.2 มีการอภิปรายแสดงความเห็นเกี่ยวกับงานธรณีเทคนิค ที่พบได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
    2.2.3 ให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับงานธรณีเทคนิค รวมถึงการทดสอบต่างๆที่ใช้ทั้งงานดินและงานหิน 
    2.2.4 ให้โจทย์ปัญหาต่างๆ ในงานธรณีเทคนิค ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ
    3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและรอบคอบในการตัดสินใจแก้ปัญหาด้านพื้นฐานงานธรณีเทคนิค
    3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเกี่ยวกับงานธรณเทคนิคในเหมืองแร่ได้
    3.1.3 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านธรณีเทคนิคในการนำมาใช้ในงานด้านเหมืองแร่  เพื่อลดการเกิดปัญหาและป้องกันการเกิดอุปสรรคในการทำงานกิจการเหมืองแร่
    3.2.1 มอบหมายให้ค้นคว้าและศึกษาเกี่ยวกับงานธรณีเทคนิคในหัวข้อต่างๆ
    3.2.2 ให้อภิปรายเสนอประเด็นและปัญหาที่เกิดขึ้นในงานธรณีเทคนิคทั้งในประเทคและต่างประเทศ
    3.2.3 ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ เกี่ยวกับงานธรณีเทค พร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไข
 
    4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและผู้ตาม
    4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ
    4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
    4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล
    4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
    4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
    5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย
    5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
    5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษาจากเว็บไซต์
    5.2.2 นำเสนอกรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
    6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
    6.2.1 อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักวิชาการ
    6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา โดยมิให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
    6.2.3 ให้มีการรับผิดชอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
    6.2.4 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2
1 ENGMN123 ธรณีเทคนิค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 30% 40%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ดร.เดโช เผือกภูมิ. ธรณีเทคนิค.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี,นครราชสีมา. 2557
ทวีศักดิ์ ปิติคุณพงศ์สุข. กลศาสตร์หินและงานอุโมงค์, กรุงเทพฯ. 2565
ดร.เพียงตา สาตรักษ์. ธรณีวิทยาโครงสร้าง, ขอนแก่น. 2559
Das, M.B. (2010) Principle of Geotechnical Engineering. 7th Edition, Cengage Learning, Stamford.
Holtz, D.R. and Kovacs, D.W. (1981) An Introduction to Geotechnical Engineering. Prentice-Hall, Inc.
 
เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียนและMS Teams แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4