การบูรณาการการเขียนโปรแกรมและเว็บเทคโนโลยี
Integrative Programming and Web Technology
1.1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐาน และโปรโตคอลการสื่อสารระหว่างระบบสารสนเทศ
1.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแปลงข้อมูล การเข้ารหัส เพื่อการควบคุมความมั่นคงของซอฟต์แวร์
1.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมภาษาภาษาสคริปท์
1.4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติ เขียนภาษาโปรแกรมประยุกต์เพื่อสนับสนุนการจัดการและการบริหารองค์กร
1.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการแปลงข้อมูล การเข้ารหัส เพื่อการควบคุมความมั่นคงของซอฟต์แวร์
1.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมภาษาภาษาสคริปท์
1.4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติ เขียนภาษาโปรแกรมประยุกต์เพื่อสนับสนุนการจัดการและการบริหารองค์กร
2.1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจ และปรับปรุงการเขียนโปรแกรมภาษาสคริปต์ ด้วยเครื่องมือ หรือโปรแกรมประยุกต์ที่เหมาะสม
2.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ การบูรณาการภาษาคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกัน ในการแก้ปัญหาได้
2.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสังเคราะห์ การออกแบบตามความต้องการของระบบ ด้วยการบูรณาการภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับการจัดการและบริหารองค์กรได้
2.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ การบูรณาการภาษาคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกัน ในการแก้ปัญหาได้
2.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสังเคราะห์ การออกแบบตามความต้องการของระบบ ด้วยการบูรณาการภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับการจัดการและบริหารองค์กรได้
ศึกษาการสื่อสารระหว่างระบบสารสนเทศ มาตรฐานการแปลงข้อมูล การบูรณาการการเข้ารหัส มาตรการควบคุมความมั่นคงของซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีของภาษาสคริปท์ การบูรณาการภาษาสคริปต์และฝึกเขียนภาษาโปรแกรมประยุกต์เพื่อสนับสนุนการจัดการและการบริหารองค์กร
Study of information systems communication, data transformation standard, encoding integrative, software security control, Script technology, integration of computer script and programming language for corporate management support.
Study of information systems communication, data transformation standard, encoding integrative, software security control, Script technology, integration of computer script and programming language for corporate management support.
1
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมความเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
2.2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.2.5 รู้ เข้าใจ และสนใจ พัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
2.2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.2.5 รู้ เข้าใจ และสนใจ พัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ - การสอนแบบปฏิบัติ
- การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ - ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ - ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน - ประเมินจากรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.4 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.4 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ - การสอนแบบปฏิบัติ
- กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ - การอภิปรายกลุ่ม - ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและมีความรับผิดชอบต่องานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่ม แสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่าง ๆ นี้ สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและมีความรับผิดชอบต่องานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่ม แสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่าง ๆ นี้ สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
- การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ - การสอนแบบปฏิบัติ
- การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ - การสอนแบบปฏิบัติ
- การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทาง ปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BSCCT602 | การบูรณาการการเขียนโปรแกรมและเว็บเทคโนโลยี |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-16 | 10 |
2 | 2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา 2.2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | - สอบข้อเขียน - แบบฝึกหัด | 8, 16 | 30 |
3 | 3.1.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | - แบบฝึกหัด - สอบปฏิบัติ | 9-14 | 30 |
4 | 4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและมีความรับผิดชอบต่องานในกลุ่ม | - การนำเสนอ Final Project Assignment | 15 | 20 |
5 | 5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม | - การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การตอบคำถามในชั้นเรียน | 1-15 | 10 |
เอกสารประกอบการสอนถูกรวบรวมไว้ในระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning)
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
เอกสารประกอบการสอนถูกรวบรวมไว้ในระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning)
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
เอกสารประกอบการสอนถูกรวบรวมไว้ในระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning)
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
https://education.rmutl.ac.th/course/view.php?id=2185
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ