การจัดการการผลิต
Production Management
1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดและความสำคัญของการบริหารการผลิต 1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการพยากรณ์ยอดขายและเทคนิคการพยากรณ์ที่จะนำไปใช้ในการ วางแผนและตัดสินใจด้านการผลิต 1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเลือกทำเลที่ตั้ง การวางผังโรงงาน การออกแบบกระบวนการ ผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์และการควบคุมต้นทุนการผลิต 1.4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยการควบคุมคุณภาพสินค้า การ ซ่อมบำรุงรักษาและเทคนิคการผลิตต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านบริหารการผลิต เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาและทักษะในการนำความรู้ไปใช้ชีวิตประจำวัน ในการทำงานและเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ระบบการผลิตด้วยการวางแผนหรัพยากรทางธุรกิจโดยรวม เทคนิศการจัดสรรวัสดุการวางแผนผังกระบวนการผลิต เทคนิคการพยากรณ์ การเลือกทำเลที่ตั้ง การวิเคราะห์ต้นทุนและกำไรเพื่อการตัดสินใจ การวางแผนการผลิตรวม การจัดลำดับงานและตารางการผลิตด้วยวิธีฮิวริสติก การควบคุมสินค้าคงคลังและการใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
Production systems by using total business resource planning; material allocation techniques; production process layout planning; forecasting techniques; location selection; cost and profit analysis for decsions; work order and production schedule by using heuristic techniques; inventory controls and software applications for increasing production efficiency
อาจารย์ผู้สอนกำหนดวัน เวลาในการให้คำปรึกษา (Office Hour) ที่ห้องพักอาจารย์ หลักสูตรการจัดการ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมงและประกาศให้ผู้เรียนทราบ นอกจากนี้ยังได้กำหนดช่องทางให้นักศึกษาติดต่อผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ Facebook และ Line
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
2.2.1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1) ผลการเรียนรู้ต้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษามีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื้อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ตำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อคนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรมดังนั้น อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติต้านคุณธรรม จริยธรรมตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น (2) มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม (3) มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (4) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไซช้อซัดแย้งและลำตับความสำคัญ (5) มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาซีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2.2.1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1) ผลการเรียนรู้ต้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษามีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื้อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ตำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อคนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรมดังนั้น อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติต้านคุณธรรม จริยธรรมตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น (2) มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม (3) มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (4) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไซช้อซัดแย้งและลำตับความสำคัญ (5) มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาซีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการจัดกิจกรรมในรายวิชา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมมีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน มีการมอบหมายงานกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น รวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการจัดกิจกรรมในรายวิชา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมมีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน มีการมอบหมายงานกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น รวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1.3 วิธีการประเมินผล
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม (1) ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ (2) ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (1) สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน (5) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม (1) ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ (2) ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (1) สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน (5) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.2.1.2 ความรู้ 1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ มีองค์ความรู้ในสาขาวิซาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ ตระหนัก รู้หลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องสำหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้เฉพาะต้านในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ ส่วนหลักสูตรวิชาชีพที่เนันการปฏิบัติ จะต้องตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการคามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาชาวิชาชีพ สามารถแข่งขันไต้ในระตับสากส รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษาและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชนมีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ ตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาชาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาชาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ คิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง (2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญชองศาสตร์ที่เกี่ยวซ้อง ประยุกคใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาชาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน (3) มีความรู้และความเข้าในในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในต้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการคำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (4) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพค้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.2.1.2 ความรู้ 1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ มีองค์ความรู้ในสาขาวิซาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ ตระหนัก รู้หลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องสำหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้เฉพาะต้านในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ ส่วนหลักสูตรวิชาชีพที่เนันการปฏิบัติ จะต้องตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการคามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาชาวิชาชีพ สามารถแข่งขันไต้ในระตับสากส รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษาและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชนมีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ ตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาชาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาชาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ คิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง (2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญชองศาสตร์ที่เกี่ยวซ้อง ประยุกคใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาชาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน (3) มีความรู้และความเข้าในในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในต้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการคำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (4) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพค้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุก#ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุก#ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2.3 วิธีการประเมินผล
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (2) รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ (3) ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง (4) ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ (5) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา (6) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน (7) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้านงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าขั้นเรียน
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (2) รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ (3) ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง (4) ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ (5) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา (6) ประเมินจากการนำเสนอผลงาน (7) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้านงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าขั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
2.2.1.3 ทักษะทางปัญญา 1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษา ต้องสามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งช้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาและงานอื่นๆ ด้วยตนเอง สามารถศึกษาปัญหาที่ผ่อนข้างชับซ้อน และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎี ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัตสินใจ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจฮันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สำหรับหลักสูตรวิซาชีพ นักศึกษาสามารถใช้วิธีการปฏิบัติงานประจำ และหาแนวทางใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมนอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรอบรู้ สามารถสืบต้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งชัอมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกศใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอิแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผลตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) สามารถสืบค้น ตีความ วิคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง (2) สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแซ่งขันทางธุรกิจ (3) คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาชาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป (4) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
2.2.1.3 ทักษะทางปัญญา 1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษา ต้องสามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งช้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาและงานอื่นๆ ด้วยตนเอง สามารถศึกษาปัญหาที่ผ่อนข้างชับซ้อน และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎี ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัตสินใจ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจฮันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สำหรับหลักสูตรวิซาชีพ นักศึกษาสามารถใช้วิธีการปฏิบัติงานประจำ และหาแนวทางใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมนอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรอบรู้ สามารถสืบต้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งชัอมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกศใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอิแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผลตามที่ระบุไว้ดังนี้ (1) สามารถสืบค้น ตีความ วิคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง (2) สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแซ่งขันทางธุรกิจ (3) คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาชาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป (4) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา (1) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน (2) กรณีศึกษาทางการจัดการโครงงานงานวิจัยและกำหนตให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม (3) การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน (4) การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง (5) จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาหักษะทางเซาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านล่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา (1) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน (2) กรณีศึกษาทางการจัดการโครงงานงานวิจัยและกำหนตให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม (3) การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน (4) การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง (5) จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาหักษะทางเซาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านล่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3.3 วิธีการประเมินผล
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินจากการนำเสนอโครงงานรายงานผลการวิจัยอภิปรายกรณีศึกษาและประเมินจากการหดสอบโตยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเสี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเคียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินจากการนำเสนอโครงงานรายงานผลการวิจัยอภิปรายกรณีศึกษาและประเมินจากการหดสอบโตยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเสี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเคียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
2.2.1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ มีส่วนช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาในกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหรือสมาชิก ของกลุ่ม สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน และต้องใข้นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการ แก้ปัญหา มีความคิตริเริ่มในการวิเศราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รับผิดซอบในการเรียนรู้อย่างส่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความใม้รู้ มีความสามารถในการติลตามความก้าวหน้าทางวิซาการอย่างต่อเนื่องเพื่อหัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความศิคริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณา การความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและ ของกลุ่ม เช้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทศโนโลยีตังนั้น อาจารย์ต้องสอดแทรกวิธีการที่ เที่ยวข้องกับคุณสมบัติต่าง ๆ ต่อไปนี้ในระหว่างการสอน (1) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดรอบ ยอมรับฟังและเศารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัตแยังได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพใต้ (2) มีความสามารถในการแสดงความคิตริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังสมในประเด็นที่เหมาะสม และหร้อมหัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง (3) มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะควกต่อเพื่อนร่วมงาน ในกรแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
2.2.1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ มีส่วนช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาในกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหรือสมาชิก ของกลุ่ม สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน และต้องใข้นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการ แก้ปัญหา มีความคิตริเริ่มในการวิเศราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รับผิดซอบในการเรียนรู้อย่างส่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความใม้รู้ มีความสามารถในการติลตามความก้าวหน้าทางวิซาการอย่างต่อเนื่องเพื่อหัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความศิคริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณา การความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและ ของกลุ่ม เช้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทศโนโลยีตังนั้น อาจารย์ต้องสอดแทรกวิธีการที่ เที่ยวข้องกับคุณสมบัติต่าง ๆ ต่อไปนี้ในระหว่างการสอน (1) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดรอบ ยอมรับฟังและเศารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัตแยังได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพใต้ (2) มีความสามารถในการแสดงความคิตริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังสมในประเด็นที่เหมาะสม และหร้อมหัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง (3) มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะควกต่อเพื่อนร่วมงาน ในกรแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง 1 ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง (2) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม (3) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป (4) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา (5) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระตมความคิดและร่วมกันทำงาน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง 1 ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง (2) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม (3) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป (4) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา (5) มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระตมความคิดและร่วมกันทำงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ต้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) การทตสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค (2) ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา (3) ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา (4) สังเกตพฤติกรรมการระตมสมอง (Brainstorming) (5) ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ต้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) การทตสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค (2) ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา (3) ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา (4) สังเกตพฤติกรรมการระตมสมอง (Brainstorming) (5) ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
2.2.1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ผลการเรียนรู้ต้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถศึกษาและทำความเข้าใจในประเด็นปัญหา สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาคันคว้า และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในการพูด การเขียน สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มบุคคลที่แตกต่างกันได้ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ในสาระสำคัญชองศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิดศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการดามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งชันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษาและการใช้เทศโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตำเนินงานของธุรกิจ สามารถลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน (1) สามารถประยุกต์ใช้หลักณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน (2) สามารถสื่อสารเพื่อธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคเครื่องมือสื่อสารและเทคโบโลยีใด้อย่างถูกล้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ (3) สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไต้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2.1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ผลการเรียนรู้ต้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถศึกษาและทำความเข้าใจในประเด็นปัญหา สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาคันคว้า และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในการพูด การเขียน สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มบุคคลที่แตกต่างกันได้ นอกจากนี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ในสาระสำคัญชองศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิดศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการดามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งชันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษาและการใช้เทศโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตำเนินงานของธุรกิจ สามารถลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน (1) สามารถประยุกต์ใช้หลักณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน (2) สามารถสื่อสารเพื่อธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิคเครื่องมือสื่อสารและเทคโบโลยีใด้อย่างถูกล้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ (3) สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไต้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ต้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร (2) มีการนำเสนอผลงานต้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) ส่งเสริมการคันคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล (4) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข (5) บูรณาการการใช้คอมหิวเตอร์ เครื่อข่าย และซอฟท์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ต้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร (2) มีการนำเสนอผลงานต้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) ส่งเสริมการคันคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล (4) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข (5) บูรณาการการใช้คอมหิวเตอร์ เครื่อข่าย และซอฟท์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
5.3 วิธีการประเมินผล
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ค้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภา (2) ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม (3) ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบคันข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลขซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ค้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภา (2) ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม (3) ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบคันข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลขซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
2.2.1.6 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ 1) ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกติใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กรชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม (1) สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม (2) สามารถปฏิบัติงานโตยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการคำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสั่งคมไต้อย่างถูกต้อง (3) สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการตำเนินชีวิต (4) สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิตริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิด
2.2.1.6 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ 1) ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกติใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กรชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม (1) สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม (2) สามารถปฏิบัติงานโตยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการคำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสั่งคมไต้อย่างถูกต้อง (3) สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการตำเนินชีวิต (4) สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิตริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิด
6.2 วิธีการสอน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้าน ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมือ อาชีพ (Hands-on) (1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิซาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือ สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม (2) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมถึงการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (4) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (5) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง (6) จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้าน ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมือ อาชีพ (Hands-on) (1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิซาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือ สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม (2) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมถึงการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (4) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (5) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง (6) จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
6.3 วิธีการประเมินผล
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) (1) ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม (2) พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน (4) การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (5) นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
3)กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) (1) ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม (2) พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (3) พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน (4) การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (5) นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | ด้านความรู้ | ด้านทักษะทางปัญญา | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBABA238 | การจัดการการผลิต |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 5.1.1 | การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค - สอบย่อย | 4 9 14 18 | 10% 20% 10% 20% |
2 | 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1. | วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
3 | 1.1.1 , 1.1.2 | การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
การบริหารการผลิต (Production Management) ดร.อภิรัฐ ตั้งกระจ่าง
การจัดการการผลิต/การดำเนินงาน รศ. สุมน มาลาสิทธิ์ ภาควิชาพาณิชยศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดการการผลิตและดำเนินงานและหลักการตลาด 30210 หน่วยที่ 1 - 8 สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การบริหารการผลิต 32301 หน่วยที่ 1 – 15 สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ 2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย 2.3 การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้ 4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา 4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย) 4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ 4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา 5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน 5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร