การจัดการโลจิสติกส์ด้านการตลาด

Logistics Management in Marketing

เพื่อให้นักศึกษมีความรู้และเข้าใจในระบบและประเภทของโลจิสติกส์ การกระจายตัวสินค้า การบริหารวัสดุ การบริหารและองค์ประกอบการดําเนินงานดำนโลจิสติกส์ การบริหารกิจกรรม ในโลจิสติกส์ แนวโน้มการพัฒนากิจกรรมด้านโลจิสติกส์
1) เพื่อให้เกิดความรู้  ความเข้าใจในระบบและประเภทของโลจิสติกส์ 
2) เพื่อให้เกิดความรู้  ความเข้าใจการกระจายตัวสินค้า การบริหารวัสดุ การบริหารและองค์ประกอบการดําเนินงานดำนโลจิสติกส์ การบริหารกิจกรรมในโลจิสติกส์ 
3) เพื่อให้เกิดความรู้  ความเข้าใจแนวโน้มการพัฒนากิจกรรมด้านโลจิสติกส์
 
ระบบและประเภทของโลจิสติกส์ การกระจายตัวสินค้า การบริหารวัสดุ การบริหารและองค์ประกอบการดําเนินงานดำนโลจิสติกส์ การบริหารกิจกรรม ในโลจิสติกส์ แนวโน้มการพัฒนากิจกรรมด้านโลจิสติกส์
3  ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.  มีความซื่อสัตย์สุจริต  ซื่อตรงต่อหน้าที่  ต่อตนเองปละต่อผู้อื่น  ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น  และมีความสำนักรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย 2.  มีความกตัญญู  ความเสียสละ  ความอดทน  ความเพียรพยายาม 3.  มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิค  โดยยึดแนวความคิดความพอประมาณความมีเหตุผล  และการสร้างภูมิคุ้มกัน 4.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบ  และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 5.  มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง  ความดีและความชั่ว
1. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา  การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย  ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา  ตลอดจนการแต่งกาย  ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย  และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็ฯสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ  ที่ครอบคลุมทั้ง  การบัญชี  เศรษฐศาสตร์  นิติศาสตร์  ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2.  มีความรู้ปละความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ  ในด้านการวางแผน  การปฏิบัติการ  การควคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน 3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ  ทางการตลาด  การเงิน  การผลิตและการดำเนินงาน  รวมทั้งการจัดการองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ 4.  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ  รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทั
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา  และเนื้่อหาของสาระรองรายวิชานั้นๆ 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงดยมอบหมายให้ทำรายงานโครงงานและนำเสนอหน้าขั้นเรียน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค  เช่น  การบ้าน  งานที่มอบหมาย  รายงาน  การทดสอบย่อย  การนำเสนอรายงาน  การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ต่อยอดกรอบความรู้เดิม  สามารถบูรณษการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาปละประสบการณ์เพื่อให้เกิด นวัตกรรม  กิจกรรม  หรือแนวทางในการบริหารยุคใหม่ๆ 2  สามารถสืบค้น  จำแนกและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม 3  สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน  โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ 4  มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ 
1. การศึกษาค้นคว้า  และรายงานทางเอกสาร  และรายงานหน้าชั้นเรียน 2. การมอบหมายงาน  การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
1. ประเมินผลจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า  โครงงาน  โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและอกสารรายงาน 2. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1. มีความสามารถในการประสานงาน  มีมนุาญ์สัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย้่างมีจิตวิทยา 2.  มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม  การประสานงาน  การมอบหมายบทบายหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน  ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็น(ุ้นำที่มีความรับผิดชอบ 3.  มีความกระรือร้อนและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ  ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม 4.  มีความสามารถในการคิดริเริ่มแสดงความคิดเห็ฯใหม่ๆ  ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
1. มอบหมายงานที่ต้องใชัทักษะด้านการสื่อสาร  การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่น ๆทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงานให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ 
1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
1  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์  สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ 2  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3  สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 4  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง  ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา 5  สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย 6  ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี 7  ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน 
1. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์  การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้ 2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การทดสอบย่อย  การสอบกลางภาคและปลายภาค 2. พฤติกรรมการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน  และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสารของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม  
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ  ด้านการวางแผน  การจัดโครงสร้างองค์กร  การปฏิบัติการ  การควบคุมและการผลการดำเนินงาน  รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน  หรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษา  การสื่อสารในบริบทต่างๆ เพื่อคิดวิเคราะห์  แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 -การสอบกลางภาค -สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 25% 25%
2 2.1.2 3.1.1 3.1.2 4.1.1 4.1.2 5.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ งานที่มอบหมาย รายงานกลุ่ม แบบฝึกหัด กรณีศึกษา การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา -งานที่มอบหมาย/รายงาน 20% -แบบฝึกหัด/กรณีศึกษา 10% -การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 10%
3 1.1.1 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วม/การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือกลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อแข่งขันในตลาดโลก เรียบเรียงโดย  อาจารย์ไชยยศ  ไชยมั่นคง ดร.มยุขพันธ์  ไชยมั่นคง
ดร.กฤษณ์ชาคริตส ณ วัฒนประเสริฐ,การประยุกต์การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานในงานอุตสาหกรรม,กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ปัญญาชน, ,2559  ดร.ปารเมศ  วรเศยานนท์,ช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า,กรุงเทพฯ,บริษัท เอ็ดดูเน็ต จำกัด,2559 ผศ.สุวิทย์  นามบุญเรือง,กรุงเทพฯ,ซีเอ็ดยูเคชั่น,2560
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่างๆ เช่นฐานเศรษฐกิจ  ประชาชาติธุรกิจ วารสาร  นิตยสาร  บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางด้านโลจิสติกส์และเว็บไซด์ทางธุริจปละภาคอุตสาหกรรม
1.การประเมินตามผลลัพะ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา  2.การประเมินการสอนโดยนักศึกษา 3.การเขียนสะท้อนความคิดเห็น  ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา  หลังจบบทเรียนในรายวิชา  
1.การประเมินตนเองหลังการสอน  และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละตรั้งโดยผู้สอน  2.การประเมินตนเองหลังการสอน  จากผลการเรียนของนักศึกษาพิจารณาจากคะแนนสอบรายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย 3.การสังเกตการณ์อสนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน.
1.การประชุมแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 2.พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอนโดยการอบรมสัมมนา 3.การทำวิจัยในชั้นเรียน
1.การประเมนิตามผลลัพธ์การเรียนรู้่โดยนักศึกษา 2.การประเมินการสอนโดยนักศึกษา 3.การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมินตามมคอ.3/มคอ.5โดยคณะกรรมการทวนสอบ 4.การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน  และรายงานโครงการ  การให้คะุแนนที่มาของเกรดโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือสาขาวิชา
1.รายงานผบการทวนสอบฯต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา 2.นำผลการทวนสอบฯไปรายงานในมคอ.5และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไปโดยอาจารย์ผู้สอน 3.นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยหัวหน้าหลักสูตร