ทักษะวิชาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 1

Practical Skills in Aquaculture 1

ปฏิบัติเกี่ยวกับเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลลูกพันธุ์สัตว์น้ำ การผลิตอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน การใช้เครื่องมือในการปฏิบัติการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ และการประเมินการปฏิบัติเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และมีทักษะในการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน การเลี้ยงและการให้อาหารสัตว์น้ำ และการจัดการบ่อและพื้นที่ที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำทักษะที่ได้จากการฝึกปฏิบัติจริงไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ในการสอนควรมีการแนะนำเทคโนโลยีทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสมัยใหม่ที่มีความเหมาะสม และตรงกับยุคปัจจุบันมาใช้ในการสอน
นักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลลูกพันธุ์สัตว์น้ำ การผลิตอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน การใช้เครื่องมือในการปฏิบัติการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ และการประเมินการปฏิบัติเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้
3ชั่วโมง
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพทางประมง
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1   กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 1.2.2   นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกงานของผู้อื่น 1.2.3  หากมีการนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ เพื่อทำรายงาน ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน  และเสนอข้อมูลตรงตามข้อเท็จจริง
1.3.1  นักศึกษาต้องมีเวลาเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
 1.3.2  ร้อยละ 90 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด เช่น การมีวินัย  ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  ปฏิบัติตนตามระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย  1.3.3  ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน  1.3.4  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1.1  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา                                     
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
2.2.1  บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการทางทฤษฏี 2.2.2  มอบหมายให้ค้นคว้างานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการเรียน พร้อมทั้งเขียนรายงานส่ง
2.3.1  สอบกลางภาคและปลายภาค
 2.3.2  จัดทำรายงานเรื่องที่มอบหมายให้ศึกษา                                 2.3.4  การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและตอบปัญหาในชั้นเรียน
 3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  กระตุ้นให้นิสิตคิดวิเคราะห์ ร่วมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ กับอาจารย์ ตลอดจนให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3.2.2  มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์
3.3.1  โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม  3.3.2  ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                                                     
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย
ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  กำหนดให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ค้นคว้า และใช้ในการนำเสนอผลงาน 5.2.2  ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.2.3   มีการนำข้อมูลทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการเรียน
5.3.1  ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษหรือไม่ 5.3.2  ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 5.3.3  ประเมินจากข้อมูลที่นำเสนอเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์
6.1.1  มีทักษะการปฏิบัติเพาะพันธุ์สัตว์น้ำและใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น สังเคราะห์ข้อมูล และนำเสนองานได้
6.2.1  ทักษะปฎิบัติฝึกทักษะการสืบค้น สังเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลงาน
ผลงานที่ประจักษ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG344 ทักษะวิชาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 และ1.1.3 -การเข้าเรียนตรงเวลา -การมีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วม -กิจกรรมเสริมหลักสูตร -ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อ ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1.1, 2.1.2 และ 2.1.3 -ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย -ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน การตอบคำถาม และรายงานที่นำส่ง ตลอดภาคการศึกษา 60
3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2 และ 5.1.3 -ความสามารถทำงานร่วมกันของนักศึกษาในการสืบค้นกรณีศึกษาและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายโดยอยู่บนฐานความรู้ของรายวิชาได้อย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 20
4 6.1.1 และ6.1.2 การมีความกระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติการ และความเข้าใจในการเครื่องมือ และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และคำนึงถึงความปลอดภัยระหว่างการทำงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. โชคชัย เหลืองธุวปราณีต. 2548. หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 481 หน้า.
2. สุภาพร สุกสีเหลือง. 2550. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่อเสริมกรุงเทพ. 312 หน้า.
3. เวียง เชื้อโพธิ์หัก. 2542. โภชนศาสตร์สัตว์น้ำ และการให้อาหารสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 255 น.
ไม่มี
1. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์กรมประมง
2. เอกสารรายงานวิจัยของกรมประมง
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ