เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า

Electrical Instruments and Measurements

เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหน่วยและมาตรฐานการวัดทางไฟฟ้า ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การวิเคราะห์การวัด การวัดกระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับโดยใช้เครื่องวัดแบบอนาล็อกและแบบดิจิตอล การวัดกำลัง ตัวประกอบกำลังและพลังงานไฟฟ้า การวัดค่าความต้านทาน ค่าความเหนี่ยวนำและค่าความจุไฟฟ้า การวัดความถี่และคาบหรือช่วงเวลา สัญญาณรบกวน การแปลงสัญญาณ และการสอบเทียบเครื่องมือวัด
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ     ในระบบเครื่องมือวัดและการวัดอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นพื้นฐานประยุกต์ความรู้เพื่อเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมอัตโนมัติ ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหน่วยและมาตรฐานการวัดทางไฟฟ้า ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด  การเคราะห์การวัด การวัดกระแสและแรงดันไฟฟ้า กระแสตรงและกระแสสลับโดยใช้เครื่องวัดแบบอนาล็อกและ ดิจิตอล การวัดกำลัง ตัวประกอบกำลังและพลังงานไฟฟ้า การวัดความต้าน ค่าความเหนี่ยวนำและค่าความจุไฟฟ้า  การวัดความถี่ และคาบเวลาหรือช่วงเวลา สัญญาณรบกวน การแปลงสัญญาณและการสอบเทียบเครื่องมือวัด            
        Study and practice of units and standard of electrical measurement;  instrument  classification and  characteristics;  measurement analysis;  measurement  of DC  and AC current and voltage using analog and digital  instruments; power, power factor, and energy measurement;  measurement  of  resistance,  inductance, capacitance; frequency and  perlod/tlme-interval measurement; noises;transducers; calibration. 
ตามการร้องขอโดยครูสามารถให้คำปรึกษาได้ตามความจำเป็นตามการร้องขอของนักศึกษา
1. เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคลองค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. เน้นสร้างสถานการณ์ เพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรม ด้าน วินัยการแต่งการ การตรงต่อเวลา ฝึกการรับผิดชอบต่อระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย โดยการเสริมแรงทางบวก
2. สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมไทยทุกครั้งที่มีการเรียนการสอน
3. จัดให้มีการทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึกการทำงานเป็นทีม และฝึกการแก้ปัญหาจากส่วนที่เล็กๆ เพื่อได้ปรับตนเองเมื่อมีปัญหาใหญ่ขึ้น
1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก
2. ประเมินผลด้านวินัยการแต่งกาย การตรงต่อเวลา ตลอดจนความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 
3. จากการบันทึกคะแนน และนำผลเป็นส่วนหนึ่งด้านจิตพิสัยของการวัดผล
มีความรู้ในหลักการ เครื่องมือวัดและการวัดอิเล็กทรอนิกส์ แบบแอนะลอกและดิจิทัล คำนวณหาส่วนประกอบของเครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการแสดงผลของเครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
1.มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิติและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การมอบให้นักศึกษาทำที่ใช้การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการสืบค้นข้อมูลทั้งจากตำราเรียน ตำราในห้องสมุดหรือแหล่งความรู้อื่น รู้จักการสืบค้นทางอินเตอร์เนต
2. อภิปรายกลุ่ม
1. วัดผลจากการประเมินผลงาน  และการนำเสนอผลงาน
2. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
2. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
1. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
2. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
2. สามารถใช้เครื่องมือในการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1. สาธิตการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้อง
2. สอนการใช้เครื่องคำนวณทางวิศวกรรม
1. ประเมินจากผลงาน
2. ประเมินจากทักษะการใช้เครื่องคำนวณทางวิศวกรรม
มีทักษะจากการปฏิบัติที่สอดคล้องกับทฤษฎี
ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ
1. ใบแสดงผลความก้าวหน้าทางการเรียน
2. สอบภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 5 1 2 4 1 2 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 ENGEE106 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้ทางทฤษฎีทั้งรายวิชา สอบด้วยข้อสอบ 2 ครั้ง กลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ตามตารางของ มทรล้านนาตาก กลางภาคเรียน ร้อยละ 15 ปลายภาคเรียน ร้อยละ 15
2 การประเมินผลประจำหน่วยเรียนทุกหน่วย สอบย่อยทุกหน่วย ตลอดภาคเรียน ร้อยละ 15
3 ภาคปฏิบัติ ทุกใบงาน / การปฏิบัติงานกลุม ร้อยละ 25
4 งานที่มอบหมาย 2 ชิ้น ผลงานที่ปรากฎ ร้อยละ 10
5 จิตพิสัย สังเกตุพฤติกรรมตาม C-map ร้อยละ 20
Measurement and Instrumentation Principle Alan S.Morris Fundamentals of Instrumentation and Measurement Dominique Placko
เอกสาประกอบการสอนรายวิชา เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า
การสืบค้นข้อมูลออนไลน์ และแหล่งข้อมูลวิชาการ
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ