วิทยาศาสตร์กายภาพสำหรับช่างเทคนิค

Physical Science for Technicians

1. เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน พลาสติก ยาง
2. สามารถคํานวณ ฝึกทักษะปฏิบัติการแก้ปัญหา วางแผน และประยุกต์ใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ในงานช่างเทคนิค
3. มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย สมดุลเคมี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน พลาสติก ยาง
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-8 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-17 5
2 1.1-4.1 สอบกลางภาค 8 30
3 1-8 งานมอบหมายและรายงานการทดลอง 1-17 25
4 4.2-8.3 การสอบปลายภาค 17 30
5 1-8 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม 1-17 5
6 1-8 ความตรงต่อเวลา และการเข้าร่วมชั้นเรียน 1-17 5
เอกสาร Power point ประกอบการสอน
1.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2532. 2.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2536. 3.      กฤษณา ชุติมา. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538. 4.      ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. หลักเคมี 1 ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2533. 5.      ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. หลักเคมี 2 ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2530. 6.      รานี สุวรรณพฤกษ์, เคมีทั่วไป 1 สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด, 2553. 7.      รานี สุวรรณพฤกษ์, เคมีทั่วไป 2 สำหรับสาขาวิศวกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด, 2554. 8.      อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด, 2554. 9.      อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร เล่ม 2, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด, 2555. 10.    Zumdahl, S.Z. Chemistry. 2nd ed. Lexington: Health & Co, 1989. 11.    Zumdahl, S. S., Zumdahl, S. A. Chemistry. 7th ed. New York: Houghton Mifflin Company, 2007. 12.    Sarquis, M., Sarquis, J. L. Holt McDougal Modern Chemistry. Houghton Mifflin Harcourt Company, 2012 13.    McMurry, J. E., Fay, R.C. Chemistry. 6th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall, 2012. 14.    Brown, T. L., LeMay Jr., H. E., Bursten, B. E., Murphy, C. J., Woodward, P. M. Chemistry: The Central Science. 12th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall, 2012. 15.    Silberberg, M. S. Principles of General Chemistry. 2nd ed. New York: McGraw Hill, 2010. 16.    Brady, J.E.,Humiston,G.E. General chemistry. 2ed. USA : John Wiley & sons, Inc., 1978. 17.    Brown,T. L. General chemistry. 2nd ed. Ohio : Charles E. Merrill publishing company, 1968. 18.    Brown,W.H. General, Organic and biochemistry. 2nd printing. Boston, Massachusetts : Willard Grant Press Statler office Building, 1980. 19.    Davis, R.E., Gailey, K.D, Whitten, K.W. Principles of chemistry. USA : CBS College Publishing, 1984. 20.    Limwanich, W., Meepowpan, P., Nalampang, K., Kungwan, N., Molloy, R., Punyodom, W., Kinetics and thermodynamics analysis for ring-opening polymerization of         caprolactone initiated by tributyltin n-butoxide using differential scanning calorimetry, Thermochimica Acta, 119: 567-579 (2015). 21.   McMurry, J. E., Fay, R.C. (2012). Chemistry, 6th ed. New Jersey: Pearson Pentice Hall. 22.   Silberberg, M. S., Amateis, P. (2015). Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, 7th ed. New York: McGraw Hill.
1.        Zumdahl, S.Z. Chemistry. 2nd ed. Lexington: Health & Co,1989. 2.        Brady,J.E.,Humiston,G.E.  General chemistry.Second edition.USA : John Wiley & sons,   Inc., 1978. 3.        Brown,T. L.  General chemistry.Second edition.Ohio : Charles E. Merrill  publishing  company, 1968. 4.       Brown,W.H.  General, organic and biochemistry.Second printing.  Boston,  Massachusetts : Willard Grant Press Statler office Building, 1980. 5.        Davis,R.E.,Gailey,K.D,Whitten,K.W.  Principles of chemistry.USA : CBS College Publishing, 1984.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยกลุ่มวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข เช่น นำระบบ Google form หรือ MS Team มาใช้ในการเก็บข้อมูลงานมอบหมายของนักศึกษา รวมถึงแบบฝึกหัดประจำบท นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจถึงการนำพื้นฐานความรู้ทางเคมีไปใช้งานจริง 
กลุ่มวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของกลุ่มวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
กลุ่มวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป