วิศวกรรมความปลอดภัยและการบริหารความปลอดภัย

Safety Engineering and Safety Management

เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ความปลอดภัย และการบริหารงานความปลอดภัย วิศวกรรมความปลอดภัยในงานเฉพาะด้าน การวางผังโรงงานที่ปลอดภัย การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรกล ความปลอดภัยในการใช้เครื่องปั๊มโลหะ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า ความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อไอน้ำ ความปลอดภัยในงานเชื่อมโลหะ  ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานบนที่สูง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ การควบคุมและการป้องกันอัคคีภัยในโรงงาน การป้องกันอันตรายจากความร้อน การออกแบบระบบระบายอากาศเบื้องต้น ความปลอดภัยในงานซ่อมบำรุง และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและสุขอนามัย
เพื่อพัฒนารายวิชาความปลอดภัยให้มีความก้าวหน้าตามการใช้งานจริงในปัจจุบันที่โรงงานอุตสาหกรรมใช้กัน
ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ความปลอดภัย และการบริหารงานความปลอดภัย วิศวกรรมความปลอดภัยในงานเฉพาะด้าน การวางผังโรงงานที่ปลอดภัย การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรกล ความปลอดภัยในการใช้เครื่องปั๊มโลหะ ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า ความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อไอน้ำ ความปลอดภัยในงานเชื่อมโลหะ  ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานบนที่สูง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ การควบคุมและการป้องกันอัคคีภัยในโรงงาน การป้องกันอันตรายจากความร้อน การออกแบบระบบระบายอากาศเบื้องต้น ความปลอดภัยในงานซ่อมบำรุง และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและสุขอนามัย
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ ความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1 มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน 2 สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่นการเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น
1 ประเมินผลจากการเข้าเรียน 2 ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา 3 สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการรักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจในตนเองและสถาบัน
1 มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ ในเนื้อหาของ ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ความปลอดภัย และการบริหารงานความปลอดภัย 2 สามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่ เหมาะสม 3 สามารถใช้ความรู้ และทักษะที่เกี่ยวข้องกับรายวิชามาประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การมอบหมายให้การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- การทำแบบทดสอบ - สังเกตุการมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
- สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ - มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การมอบหมายให้การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- การทำแบบทดสอบ - สังเกตุการมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - ผลงานที่นำเสนอ
- รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ - มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การมอบหมายให้การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- การทำแบบทดสอบ - สังเกตุการมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - ผลงานที่นำเสนอ
- สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การมอบหมายให้การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- การทำแบบทดสอบ - สังเกตุการมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - ผลงานที่นำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 ENGRT002 วิศวกรรมความปลอดภัยและการบริหารความปลอดภัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 30% 30%
2 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 แบบฝึกหัดกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ปลายภาคการศึกษา 15%
Ralph Stair, George Reynolds (200x).Industrial Safety, Thomson Course Technology
ตำราหรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมความปลอดภัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ