อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในงานระบบขนส่งทางราง

Internet of Things for Railway System

มีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการทำงานของอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง การเชื่อมต่อเซ็นเซอร์เข้ากับอุปกรณ์ควบคุม การควบคุมอุปกรณ์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การจำลองแบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง การประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผนการบำรุงรักษา
เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการทํางานของระบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่งตั้งแต่ สถาปัตยกรรมโปรโตคอล การจัดเก็บข้อมูล มาตรฐานและระบบรักษาความปลอดภัย
ระบบการทำงานของอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง การเชื่อมต่อเซ็นเซอร์เข้ากับอุปกรณ์ควบคุม การควบคุมอุปกรณ์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การจำลองแบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง การประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผนการบำรุงรักษา
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน และชั่วโมงที่ไม่มีสอน  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 พัฒนาผู็เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2 เคารพในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทําหน้าที่ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
3 มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามในการ ทํางานเป็นทีม
4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น
5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1  การมอบหมายงานให้นักศึกษาทํางานเดี่ยวและงานกลุ่ม เพื่อนักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการทํางาน การแลกเปลยี่นความคดิเห็น มีการค้นคว้าข้อมูล และมีความสามัคคี
2 สอดแทรกเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ การมีจรยิธรรมจิตสาธารณ การมีส่วนร่วมต่อสังคม การช่วยเหลือสังคม การมีสัมมาคารวะ เพื่อปลูกฝัง ให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และมีน้ําใจช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการมีส่วนร่วมใน การทํางานกลุ่ม การตรงต่อ เวลาในการเข้าชั้นเรียน และส่ง งานตามที่ไดร้ับมอบหมาย รวมทั้งสังเกต ลักษณะการ พูดจา
1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีของระบบการทำงานของอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 มีความรู้และความเข้าใจหลักการ และทฤษฎีเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
3 สามารถอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม กับการแก้ไขปัญหา
1 บรรยายจากเอกสารประกอบการสอน
2 ให้นิสิตเรียนรู้ เขียนโปรแกรม
3 ทดลองจากฮาร์ดแวร์จริง
4 ให้นักศึกษาทําแบบฝึกหัดในห้องเรียน และนอกห้องเรียน
5 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม จากอินเตอร์เน็ต
6 อภิปรายหลักการทํางานของ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งในประเด็น ฮารด์แวร์และซอฟต์แวร์รวมถึง อุปกรณ์เชื่อมต่อ พื้นฐานท้ังแบบ อินพุทและเอาท์พุท
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค วิเคราะห์จากแบบฝึกหัด วิเคราะหจ์ากรายงานและการ อภิปรายหน้าช้ันเรียน
1 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  
1 ให้นักศึกษาฝึกแปลงสัญญาณทางไฟฟ้า ให้เป็นข้อมูลทางตัวเลขในลักษณะ เลขฐานสอง ฐานสิบและฐานสิบหก 
2 ให้โจทย์การวิเคราะห์ประเด็นการ เขียนโปรแกรมควบคมุการ ประมวลผลของระบบควบคมุ อัตโนมัติโดยหน่วยอินพุททําหนา้ท่ี รับอินพุทเป็นสัญญาณไฟฟ้า แปลง สัญญาณไฟฟ้าเป็น เลขฐาน 2 จากน้ัน จะส่งต่อไปยังหน่วย ประมวลผลทําหน้าที่ประมวลผล ข้อมูลตัวเลขฐานสองให้เอาท์พุท ออกมาเป็นตัวเลข ส่งต่อให้ หน่วย เอาท์พุทก็จะแปลงตัวเลขเป็น สัญญาณไฟฟ้า
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค โดยใช้โจทย์ ประเภทวิเคราะห์
1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายโดย ใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอํานวย ความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาท ของผู้ร่วมทีมทํางาน 3 สามารถใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4 มีความรับผิดชอบในการกระทําของ ตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
ให้นักศึกษาทําศึกษาค้นคว้าในรูปแบบ ของงานกลุ่ม นําเสนอในรูปของ รายงาน การเขียนโปรแกรม และ ทดสอบในฮาร์ดแวรจ์ริง
ประเมินความก้าวหน้าของงาน ประเมินผลสัมฤทธ์ิของงาน จากการอภิปราย นําเสนอ และ การทํางานของฮาร์ดแวร์จริง
1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นท่ีมีอยู่ในปัจจุบันในการทํางานท่ีเก่ียวกับคอมพิวเตอร์
2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหา โดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้อง อย่างสร้างสรรค์
3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง การพูดและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ สื่อการนําเสนออย่างเหมาะสม
4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
1 สอนเนื้อหาทฤษฎีเชิงปฏิบัติ โดย การให้โจทย์ให้ฝึกคิด 
2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าดว้ย ตนเอง นําเสนอในรูปของรายงาน และทดลองในฮารด์แวร์จริ
ประเมินจากการทําโจทย์ใน ห้องเรียน ประเมินผลจากรายงานการ นําเสนอ และการทํางานของ ฮาร์ดแวร์จริง
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางวงจรดิจิทัล ดังข้อต่อไปนี้  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติการทดลอง
สังเกตขั้นตอนปฏิบัติงานและความเชี่ยวชาญในการออกแบบและทดลองใบงาน IoT
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGRT006 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในงานระบบขนส่งทางราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เจตคติ การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9,17 สอบกลางภาค 25%, สอบปลายภาค 25%
3 - งานที่ได้รับมอบหมาย - การทำกิจกรรมกลุ่ม - การฝึก และทดสอบการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 การสะท้อนความคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  2.3 การสังเกตการณ์สอน ของผู้สอน  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ