ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
Physics Laboratory 2 for Engineers
วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์
1.2นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรมาปฏิบัติการทดลอง
1.3สามารถวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยให้รู้จักการหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง
1.5มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
1.1 สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์
1.2นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรมาปฏิบัติการทดลอง
1.3สามารถวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยให้รู้จักการหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง
1.5มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
2.1 ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.2 ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
2.2 ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.3 สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
2.4 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทดลองที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคพื้นฐานทางฟิสิกส์ ประกอบด้วย
การทดลองทางแม่เหล็กไฟฟ้า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์ และฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยเนื้อหาจะสอดคล้องกับวิชาฟิสิกส์ 2 สําหรับวิศวกร
A laboratory course, dealing with basic experimental techniques in physics consisting of various experiments in electromagnetism, A. C. circuits, fundamental electronics, optics and modern physic. The course contents are accordance with FUNSC103 Physics 2 for Engineers.
A laboratory course, dealing with basic experimental techniques in physics consisting of various experiments in electromagnetism, A. C. circuits, fundamental electronics, optics and modern physic. The course contents are accordance with FUNSC103 Physics 2 for Engineers.
1.5 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. ให้นักศึกษาทำการทดลองตามบทปฏิบัติการ โดยนำความรู้จากการเรียนภาคบรรยายมาฝึกปฏิบัติ
1. ประเมินจากรายงานผลการทดลอง
2. การสอบ
2. การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
2. การอภิปรายกลุ่ม
2. การอภิปรายกลุ่ม
1. การนำเสนองาน
2. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3. ประเมินจากรายงานผลการทดลอง
2. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3. ประเมินจากรายงานผลการทดลอง
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ทำปฏิบัติการ
2. ให้นำเสนอผลการทดลอง โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
2. ให้นำเสนอผลการทดลอง โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากเอกสารการทดลองที่ส่ง พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากการตอบคำถามท้ายการทดลอง
2. ประเมินจากการตอบคำถามท้ายการทดลอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สามารวิเคราะห์ผลการทดลองได้โดยสามารถประมวลผลเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนได้
2. นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ
2. นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ
1. ประเมินจากรายงานผลการทดลอง
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการสรุปผลการทดลองและการวิเคราะห์แก้ปัญหาท้ายการทดลอง
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการสรุปผลการทดลองและการวิเคราะห์แก้ปัญหาท้ายการทดลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 2 | 3 | 1 | 1 | 2 | 3 | 1 |
1 | FUNSC104 | ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1,5.1 | การปฏิบัติการทดลอง การนำเสนอ | 1-16 | 35% |
2 | 3.1 | รายงานการทดลองกลุ่ม | 3-16 | 35% |
3 | 2.1 | การสอบ | 9,17 | 20% |
4 | 1.2,1.3, 4.2,4.3 | 1.การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 2.การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 3.การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา | 1-16 | 10% |
1. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย เล่ม 2 ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์ และธนกาญจน์ ภัทรากาญจน์
2. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 2 เล่ม 1 พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ
3. ฟิสิกส์พื้นฐานขั้นมหาวิทยาลัย ฉันทนา อิสรางกูล ณ อยุธยา และอุไรวรรณ จุณภาค
2. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 2 เล่ม 1 พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ
3. ฟิสิกส์พื้นฐานขั้นมหาวิทยาลัย ฉันทนา อิสรางกูล ณ อยุธยา และอุไรวรรณ จุณภาค
1. รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์, ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
2. โจทย์ประกอบการเรียนฟิสิกส์. ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ :
สุริยาสาส์น,2543
2. โจทย์ประกอบการเรียนฟิสิกส์. ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ :
สุริยาสาส์น,2543
WWW.rmutphysics.com
http://www.youtube.com/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำ และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
3.2 จัดทำ และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
5.1 นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป