เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน

Necessary Information Technology in Daily Life

- มีความรู้เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
- มีความรู้ และสามารถใช้อินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
- สามารถประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำ วัน เช่น การสื่อสารในสังคมสารสนเทศ และสังคมออนไลน์และประยุกต์ใช้คลังความรู้
- มีความรู้ ความเข้าใจถึงกฎหมาย จรรยาบรรณและความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาความหมาย ความสำ คัญ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศเครือข่ายอินเตอร์เนต สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ ทรัพสินทางปัญญา ภัยคุกคามความ ปลอดภัยในการใช้อินเตอร์เนต การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต การใช้บริการโปรแกรมทางอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีสื่อประสมและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเบื้องต้นที่จำเป็นในปัจจุบัน
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม และจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิจ
- แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย
- จัดระเบียบสภาพแวดล้อม  ทั้งกายภาพและระเบียบ เช่น การแต่งกาย การเข้าชั้นเรียน
- ฝึกพัฒนา เหตุผลเชิงจริยธรรม  โดยใช้ปัญหาความขัดแย้งเชิงจริยธรรม  กระตุ้นให้ผู้เรียนคิด  วิเคราะห์ อภิปราย โต้แย้ง  และตัดสินใจ ในบรรยากาศที่มีเสรีภาพและปลอดภัยจากการถูกตัดสิน
- ฝึกการคิด  วิเคราะห์  คิดสะท้อน  คิดอย่างมีวิจารณญาณ
- ประเมินพฤติกรรม  การกระทำ  การแสดงออก  การปฏิบัติจากแบบสอบถาม 
- แบบสัมภาษณ์ ประเมินความรู้สึก การเห็นคุณค่า การยอมรับ จากแบบสังเกต 
- แบบสอบถามความคิดเห็น ประเมินความรู้  ความเข้าใจ จากแบบทดสอบ  แบบสอบถาม  ชิ้นงาน
- มีความรู้กว้างขวาง เป็นระบบ
- สามารถวิเคราะห์ และจำแนกข้อเท็จจริง ในหลักการและทฤษฎี
- จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย  ให้สอดคล้องกับเนื้อหา เช่น การบรรยาย  การอภิปราย  การศึกษาค้นคว้า  และการคิดวิเคราะห
- ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ด้วยแบบทดสอบ  แบบสอบถาม  ชิ้นงาน
- ประเมินด้านทักษะ  ด้วยการสังเกตการณ์ทำงาน  แบบบันทึกการฝึก  ชิ้นงาน
- สามารถค้นหาข้อเท็จจริงทำความเข้าใจ และสามารถประเมินข้อมูล
- สามารถใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- ให้ความรู้  ความเข้าใจ  ขั้นตอน  กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  การแก้ปัญหา   การคิดสร้างสรรค์
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นปัญหาเป็นหลัก
- ประเมินตามสภาพจริง  จากผงงาน  การคิดสร้างสรรค์
- ประเมินจากการปฏิบัติของนักศึกษา  แบบบันทึกการปฏิบัติ
- ประเมินการยอมรับในทักษะกระบวนการนั้น  จากแบบสังเกต  แบบสอบถามความคิดเห็น
- สามารถทำงานเป็นกลุ่มโดยมีทักษะเป็นผู้นำ และเป็นสมาชิกกลุ่ม
- มีความคิดริเริ่ม วิเคราะห์ปัญหาได้บนพื้นฐานของตนเองและกลุ่ม
- สามารถทำงานเป็นกลุ่ม  โดยมีทักษะเป็นผู้นำ และเป็นสมาชิกกลุ่ม
- มีความคิกริเริ่ม  วิเคราะห์ปัญหาได้บนพื้นฐานของตนเองและกลุ่ม
- ใช้การสอนที่กำหนดกิจกรรมให้ทำงานเป็นกลุ่มกิจกรรมค้นคว้า
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอน  โดยให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมทั้งในบทบาทการเป็นผู้นำ   และผู้ร่วมงาน
- สามารถเลือกประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าและเสนอแนวทางแก้ปัญหา
- สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บข้อมูล ประมวลผลแปลความหมาย และนำเสนอสารสนเทศ
- สามารถสื่อสาร พูด เขียน และเลือกรูปแบบการนำเสนอ อย่างเหมาะสม สำหรับบุคคล ที่แตกต่างกันได้
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้นักศึกษาฝึกทักษะการวิเคราะห์  การสังเคราะห์ข้อมูล  การสื่อสารระหว่างบุคคล  การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานต่าง ๆ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้หลากหลายสถานการณ์  โดยทุกกระบวนการผ่านระบบออนไลน์
- ประเมินตามสภาพความเป็นจริง  จากผลงานการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ  หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย  วิเคราะห์  สังเคราะห์ข้อมูล  และการสื่อสารระหว่างบุคคล
- สามารถปฎิบัติงานโดยยึดแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการ์ณเสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
- ผลงานและการปฎิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริงและความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC301 เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.5,1.6,4.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
2 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 7 30%
3 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 แบบฝึกหัด กิจกรรมระหว่างเรียน 1-16 30%
- https://www.icdlthailand.org/
- เอกสารประกอบการสอนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน.
-
Wikipedia
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ปรับสื่อการเรียนการสอนในเป็นปัจจุบัน