ระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ

Business Intelligence for Business Data Analytics

1.   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
2.   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจกระบวนการรวบรวมข้อมูล การนำเข้าข้อมูลด้วยกระบวนการดึง
     แปลง และโหลดข้อมูล
3.   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสูตรการคำนวณทางคณิตศาสตร์และทางการเงินเบื้องต้นที่ใช้ใน
     โปรแกรมสำเร็จรูปด้านธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ
4.   เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้โปรแกรมทางธุรกิจอัจฉริยะเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการวิเคราะห์
     ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
1.   เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และวิชาชีพเฉพาะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล ภายใต้หลักสูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.   เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล ภายใต้หลักสูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
3.   เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้เพียงพอที่จะนำไปประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในระบบธุรกิจอัจฉริยะตั้งแต่กระบวนการรวบรวมข้อมูล การนำเข้าข้อมูลด้วยกระบวนการดึง แปลง และโหลดข้อมูล การจัดการข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ รูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจที่ได้จากโปรแกรมทางธุรกิจอัจฉริยะ สูตรการคำนวณทางคณิตศาสตร์และทางการเงินเบื้องต้นที่ใช้ในระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจที่ไม่จำเป็นต้องมุ่งเน้นไปในเชิงสถิติและการเขียนโปรแกรม ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมทางธุรกิจอัจฉริยะเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
           Study and practice the methods and tools used in business intelligence from the data collection process, importing data using extract, transform, and load (ETL), interpret information derived from BI software in terms of data management methods and business data analytics, fundamental of mathematic and financial model used in BI to support decision making that do not require statistical and programming focus and practice using business intelligence software as a tool to support business data analytics.
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ˜ ) และความรับผิดชอบรอง ( ™ )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านคุณธรรมจริยธรรม ™ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต ˜ มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม ™ มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ   เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์   เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม   สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ใส่เครื่องหมาย  ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ทักษะที่   จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม     สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา   ü ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2 ü กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 3 ü เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน 1   ใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน   ü อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน 1
1.3 วิธีการประเมินผล
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ทักษะที่   การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม   ü การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2 ü การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 2 ü การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 3 ü ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์ 2 ü ปริมาณการกระทำการทุจริตในการสอบ 1 ü ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ˜ ) และความรับผิดชอบรอง ( ™ )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านความรู้ ˜ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา ™ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา ™ สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด ™ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์   รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง   มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง   มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง   สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ทักษะที่ ü 1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 1,2,3,4 ü 2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1,2,3,4 ü 3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง   ü 4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน               ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 1,2,3,4 ü 5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 1,2,3,4 ü 6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 1,2,3,4
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ทักษะที่ ü 1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 1-2   2.  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ     3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง   ü 4.  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ 2 ü 5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 1 ü 6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน 4 ü 7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน 1-4

 
 
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ˜ ) และความรับผิดชอบรอง ( ™ )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านทักษะทางปัญญา   คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ ˜ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ ™ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม

 
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ทักษะที่   จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน   ü จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย) 2   กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม   ü การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 2,4 ü การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 2 ü การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 4   จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา  
        ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ทักษะที่   ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา   ü การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ 2   การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง   ü ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 2, 4 ü การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 2   ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน     ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง     ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา  

 
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ˜ ) และความรับผิดชอบรอง ( ™ )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ   สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้แนะสังคมในประเด็นที่เหมาะสม ˜ มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม   สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม ™ มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ทักษะที่   สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง     จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม   ü จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 1,6   มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง   ü มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 4 ü มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ 4
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ทักษะที่   การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 4   พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา   ü การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 4   พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี   ü สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 6 ü สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 1,4,6   ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  

 
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก ( ˜ ) และความรับผิดชอบรอง ( ™ )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ™ มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์   สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์   สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม ˜ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ทักษะที่ ü สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 4 ü จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 1   จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย     จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้   ü มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ทักษะที่   การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 4 ü พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร 1,4 ü ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1   ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน  

 
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยเรียนที่ 2-3 ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานกลุ่มครั้งที่ 1 นำเสนอผลงานด้วยวาจา เรือง การประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ 7 10
2 หน่วยเรียนที่ 1-3 ด้าน 1 คุณธรรมจริยธรรม ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบทดสอบกลางภาค 8 25
3 หน่วยเรียนที่ 5 ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานกลุ่มครั้งที่ 2 นำเสนอผลงานด้วยวาจา รายงานทางเทคนิค เรื่อง ระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ 16 10
4 หน่วยเรียนที่ 4-6 ด้าน 1 คุณธรรมจริยธรรม ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบทดสอบปลายภาค 17 25
5 หน่วยเรียนที่ 1-6 ด้าน 1 คุณธรรมจริยธรรม ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10
6 หน่วยเรียนที่ 1-6 ด้าน 1 คุณธรรมจริยธรรม ด้าน 2 ความรู้ ด้าน 3 ทักษะทางปัญญา ด้าน 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้าน 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบฝึกหัดในชั้นเรียน งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10
7 ด้าน 1 คุณธรรมจริยธรรม ด้าน 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เอกสารประกอบการสอน วิชาระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
Bentley, D. (2017). Business Intelligence and Analytics. New York: Library Press.
Laursen, G. H., & Thorlund, J. (2010). Business Analytics for Managers: Taking Business Intelligence beyond Reporting. United States of America: John Wiley & SAS business series.
         
เอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้อง
ภาษาสอบถาม. (2560, มิถุนายน 8). ใน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาสอบถาม
MySQL. (2023). Chapter 13 SQL Statements. from https://dev.mysql.com/doc/refman/8.0/en/sql-statements.html
 
เว็บไซต์สำหรับค้นหาข้อมูลงานวิจัยเกี่ยวข้อง

https://www.tci-thaijo.org/ https://library.rmutl.ac.th/
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์, Google, Google Scholar
มีการดำเนินการจัดกิจกรรมการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา เพื่อนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ด้วยกลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่ง หรือหลายกลยุทธ์ร่วมกัน ดังนี้

 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซต์ที่มหาวิทยาลัย/หลักสูตร/วิชาเอก จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

 
มีการดำเนินการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลการสอน ด้วยกลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่ง หรือหลายกลยุทธ์ร่วมกันดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนและผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ