การทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
Underground Mining and Mine Design
มีความรู้และเข้าใจในหลักการทำเหมืองใต้ดิน และการออกแบบเหมืองใต้ดินได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย สามารถเข้าใจรูปแบบการทำเหมืองในรูปแบบต่างๆ และเครื่องมือต่างๆที่ใช้ในการทำเหมืองใต้ดินพร้อมทั้งอธิบบายข้อดีข้องเสียของการทำเหมืองใต้ดินในแต่ละรูปแบบได้ รวมถึงการคำนวณระยะการออกแบบ การคำนวณความเค้นความเครียดของการขุดอุโมงค์เพื่อนำแร่ออกมาจากใต้ดินได้อย่างถูกต้อง
1.เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้รูปแบบของการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการทำเหมืองใต้ดินทุกรูปแบบ
3.เพื่อให้นักศึกษาสามารถคำนวณการขุดเจาะอุโมงค์ รวมถึงการค้ำยังในเหมืองใต้ดิน
4.เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพของการทำเหมืองใต้ดินชัดเจนขึ้นและสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้จริง
2.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการทำเหมืองใต้ดินทุกรูปแบบ
3.เพื่อให้นักศึกษาสามารถคำนวณการขุดเจาะอุโมงค์ รวมถึงการค้ำยังในเหมืองใต้ดิน
4.เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพของการทำเหมืองใต้ดินชัดเจนขึ้นและสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้จริง
ศึกษาการสารวจแร่ การประเมินและพัฒนาแร่ในเหมืองใต้ดิน การจำแนกและการเลือกใช้วิธีทำเหมืองใต้ดินแบบต่างๆ เทคนิคการเจาะและระเบิดในการขุดเจาะเหมืองใต้ดิน การค้ำยันในการทาเหมืองใต้ดิน การระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง และการให้แสงสว่าง การใช้วิธีควบคุมการทรุดตัวของพื้นผิว ความปลอดภัยและสวัสดิการในการทาเหมืองใต้ดิน การควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1 ชั่วโมง / สัปดาห์
1.1.1. เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4. สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1. บรรยายพร้อมยกประเด็นตัวอย่างเกี่ยวกับจริยธรรม ความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพด้านเหมืองแร่และธรณี การนำเอาวิชาชีพไปใช้อย่างซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้ วิชาชีพในการแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงสังคมและผู้ประกอบการที่อาจจะได้รับความเสียหายได้
1.2.2. ให้มีการอภิปรายแสดงความเห็น ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2.3. ให้นักศึกษาค้นคว้าปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในการใช้วิชาชีพและนำมาเสนออภิปรายกลุ่ม
1.2.4. ให้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
1.2.2. ให้มีการอภิปรายแสดงความเห็น ความรับผิดชอบต่อสังคม
1.2.3. ให้นักศึกษาค้นคว้าปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในการใช้วิชาชีพและนำมาเสนออภิปรายกลุ่ม
1.2.4. ให้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานของการทำเหมืองใต้ดิน การนำไปใช้ประโยชน์ และมีทักษะในการปฏิบัติได้จริงในภาคสนาม
2.1.2. สามารถนำความรู้ด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบไปใช้ในกิจกรรมการเหมืองแร่ และยังช่วยในการผลิตแร่และหินได้อย่างดีและปลอดภัย
2.1.3. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการค้ำยันเหมืองใต้ดินในรูปแบบต่างๆเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานได้อย่างถูกต้อง
2.1.4. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดิน เพื่อการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในการนำแร่ออกมาใช้ประโยชน์สูงสุด ตลอดจนการนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.1.2. สามารถนำความรู้ด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบไปใช้ในกิจกรรมการเหมืองแร่ และยังช่วยในการผลิตแร่และหินได้อย่างดีและปลอดภัย
2.1.3. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการค้ำยันเหมืองใต้ดินในรูปแบบต่างๆเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานได้อย่างถูกต้อง
2.1.4. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดิน เพื่อการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในการนำแร่ออกมาใช้ประโยชน์สูงสุด ตลอดจนการนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.2.1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับรูปแบบการทำเหมืองใต้ดิน มีการยกตัวอย่างจริงของรูปแบบต่างๆที่มีคามสำคัญ มาประกอบการเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติให้เข้าใจอย่างถูกต้อง
2.2.2. มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ หรืองานวิชาชีพด้านเฉพาะที่ใช้ในการทำเหมืองใต้ดิน
2.2.3. ให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ และประโยชน์และปัญหาจากการทำเหมืองใต้ดิน
2.2.4 ให้โจทย์ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ ทั้งด้านทฤษฎี และการฝึกปฏิบัติ
2.2.2. มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ หรืองานวิชาชีพด้านเฉพาะที่ใช้ในการทำเหมืองใต้ดิน
2.2.3. ให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ และประโยชน์และปัญหาจากการทำเหมืองใต้ดิน
2.2.4 ให้โจทย์ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ ทั้งด้านทฤษฎี และการฝึกปฏิบัติ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและรอบคอบในการตัดสินใจแก้ปัญหาด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเกี่ยวกับงานด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
3.1.3 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบได้อย่างเหมาะสม ในการนำมาใช้ในงานด้านเหมืองแร่ เพื่อลดการเกิดปัญหาและป้องกันการเกิดอุปสรรคในการทำงานกิจการเหมืองแร่
3.1.2 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเกี่ยวกับงานด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
3.1.3 สามารถใช้องค์ความรู้ด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบได้อย่างเหมาะสม ในการนำมาใช้ในงานด้านเหมืองแร่ เพื่อลดการเกิดปัญหาและป้องกันการเกิดอุปสรรคในการทำงานกิจการเหมืองแร่
3.2.1 มอบหมายให้ค้นคว้าเกี่ยวกับพื้นฐานด้านการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ ศึกษารูปแบบการทำเหมืองใต้ดินในรูปแบบต่างๆ
3.2.2 ให้อภิปรายเสนอประเด็นทำการวิเคราะห์ข้อมูลการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ และการปฏิบัติงานด้านการทำเหมืองใต้ดินในภาคสนาม
3.2.3 ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
3.2.4 ให้จัดทำโมเดลวิธีการทำเหมืองใต้ดินรูปแบบต่างๆที่นักศึกษาสนใจและศึกษาวิธีดังกล่าวอย่างละเอียด
3.2.2 ให้อภิปรายเสนอประเด็นทำการวิเคราะห์ข้อมูลการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ และการปฏิบัติงานด้านการทำเหมืองใต้ดินในภาคสนาม
3.2.3 ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ เกี่ยวกับการทำเหมืองใต้ดินและการออกแบบ
3.2.4 ให้จัดทำโมเดลวิธีการทำเหมืองใต้ดินรูปแบบต่างๆที่นักศึกษาสนใจและศึกษาวิธีดังกล่าวอย่างละเอียด
4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ
4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ
4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย
5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษาจากเว็บไซต์
5.2.2 นำเสนอกรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
5.2.2 นำเสนอกรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักวิชาการ
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา โดยมิให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
6.2.3 ให้มีการรับผิดชอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
6.2.4 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
6.2.2 มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา โดยมิให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
6.2.3 ให้มีการรับผิดชอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ และทดลอง
6.2.4 ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดชอบกัน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|