งานเครื่องมือกลในศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟ

Depot Workshop Equipment

 เข้าใจเกี่ยวกับกฏ ระเบียบ และความปลอดภัยในศูนย์ซ่อมบำรุง มาตรฐานการซ่อมบำรุงรถไฟ เครื่องมือกลพื้นฐาน แท่นปฏิบัติงานแบบโมดูลาร์ ลิฟท์ยก และเครน เครื่องกลึงโปรไฟล์ล้อแบบอัติโนมัติ เครื่องถอดประกอบชุดล้อและเพลา เครื่องทดสอบการหมุนของเพลา และลูกปืน เครื่องทดสอบโบกี้ เครื่องทดสอบผลิตภัณฑ์ระบบราง การตรวจสอบชิ้นส่วนของรถไฟ และระบบรางแบบไม่ทำลาย
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระบบราง ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการฝึกปฏิบัติโดยใช้เครื่องมือเครื่องจักรอุตสาหกรรม และสอดรับกับการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
เรียนรู้เกี่ยวกับ กฏ ระเบียบ และความปลอดภัยในศูนย์ซ่อมบำรุง มาตรฐานการซ่อมบำรุงรถไฟ เครื่องมือกลพื้นฐาน แท่นปฏิบัติงานแบบโมดูลาร์ ลิฟท์ยก และเครน เครื่องกลึงโปรไฟล์ล้อแบบอัติโนมัติ เครื่องถอดประกอบชุดล้อและเพลา เครื่องทดสอบการหมุนของเพลา และลูกปืน เครื่องทดสอบโบกี้ เครื่องทดสอบผลิตภัณฑ์ระบบราง การตรวจสอบชิ้นส่วนของรถไฟ และระบบรางแบบไม่ทำลาย
อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 1. มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน
2.ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
3. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
สื่อความสำคัญในจรรณยาบรรณวิชาชีพ ความมีศีลธรรม และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น
การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานมอบหมาย 5% ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย 10%
1.มีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับ กฏ ระเบียบ และความปลอดภัยในศูนย์ซ่อมบำรุง 
2.มาตรฐานการซ่อมบำรุงรถไฟ เครื่องมือกลพื้นฐาน แท่นปฏิบัติงานแบบโมดูลาร์ ลิฟท์ยก และเครน เครื่องกลึงโปรไฟล์ล้อแบบอัติโนมัติ เครื่องถอดประกอบชุดล้อและเพลา เครื่องทดสอบการหมุนของเพลา และลูกปืน เครื่องทดสอบโบกี้ เครื่องทดสอบผลิตภัณฑ์ระบบราง
3.การตรวจสอบชิ้นส่วนของรถไฟ และระบบรางแบบไม่ทำลาย
บูรณาการสอนภาคทฤษฏีด้วยใช้สื่อการสอนที่ทำให้นักศึกษาเข้าใจในงานด้านการซ่อมบำรุงของระบบขนส่งทางราง และฝึกปฎิบัติงาน รวมถึงการทำโครงงานเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้
-การฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน และฝึกภาคสนาม  -การทำโครงงานประจำรายวิชา
1.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทสมาช่วยในการแก้ปัญหา รวมถึงการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในงานออกแบบ และการแก้ปัญหาในหน้างานจริง
ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย การแก้ไขปัญหาในห้องปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาในหน้างานจริง
รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
การสอนโดยการบรรยายในภาคทฤษฎี สำหรับภาคปฏิบัติจะเน้นการศึกษษดูงาน การปฏิบัติงานในสถานประกอบการ รวมถึงการปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย
ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
1. รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
2.สามารถใช้การคำนวณมาประกอบการพิจารณาในการปรับตั้งการทำงานของเครื่องจักรได้อย่างเหมาะสม
1. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. ให้นักศึกษาตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการเรียนรู้ และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
1. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 3. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 4. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ให้นักศึกษาตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการเรียนรู้ และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผ่านงานที่มอบหมาย - การฝึกปฏิบัติงานในห้องทดลอง - การฝึกปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาภาคสนาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGRT011 งานเครื่องมือกลในศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประกอบการสอน วิชางานเครื่องมือกลในศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น http://library.rmutl.ac.th/  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ