การออกแบบอย่างยั่งยืน
Sustainable Design
รู้และเข้าใจแนวคิด ทฤษฎี ของการออกแบบอย่างยั่งยืน และสามารถนำมาสู่การปฏิบัติด้านการออกแบบเพื่อสร้างสรรค์งานศิลปะและการออกแบบเชิงนวัตกรรมโดยคำนึงถึงบริบทของสังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนดและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านงานศิลปกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์และการออกแบบสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องและสัมพันธ์กับบริบทของสังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติแนวความคิดของการออกแบบอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างสรรค์งานศิลปะและการออกแบบเชิงนวัตกรรม โดยคำนึงถึงบริบทของสังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ข้อกำหนดและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ตามความต้องการเฉพาะรายบุคคล
1.1.1.จิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ
1.1.2.วินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.3.เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.2.วินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.3.เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1.การบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน
1.2.2.การอภิปรายกลุ่ม โดยกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.2.2.การอภิปรายกลุ่ม โดยกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 แนวความคิดของการออกแบบอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างสรรค์งานศิลปะและการออกแบบเชิงนวัตกรรม
2.1.2 บริบทของสังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 ข้อกำหนดและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.1.2 บริบทของสังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 ข้อกำหนดและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม
2.2.2 การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 การจัดทำโครงงานด้านการออกแบบอย่างยั่งยืนจากสถานการณ์จริง
2.2.2 การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 การจัดทำโครงงานด้านการออกแบบอย่างยั่งยืนจากสถานการณ์จริง
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล หรือโจทย์จากจากสถานการณ์จริง
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1 พัฒนทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.1.2 การคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบอย่างยั่งยืนทางด้าน ศิลปะ ผลิตภัณฑ์และสถาปัตยกรรม
3.1.2 การคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบอย่างยั่งยืนทางด้าน ศิลปะ ผลิตภัณฑ์และสถาปัตยกรรม
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอย่างยั่งยืน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.
4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและการใช้เครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานจากกรอบแนวคิดความยั่งยืน
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานจากกรอบแนวคิดความยั่งยืน
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบตามแนวทางความยั่งยืน
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน ตามแนวทางความยั่งยืน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน ตามแนวทางความยั่งยืน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | MAAAC119 | การออกแบบอย่างยั่งยืน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.1 และ 3.3.1 | สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค | 10 และ 17 | ร้อยละ 15 , ร้อยละ 15 |
2 | 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2, 6.3.1, 6.3.2, 6.3.3 | ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติการออกแบบของนักศึกษาที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา การนำเสนอผลงานออกแบบ/สร้างสรรค์ขั้นสุดท้าย | ร้อยละ 5 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ 25 |
3 | .3.1, 1.3.2,1.3.3 | การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 และ ร้อยละ 10 |
สมพร แสงชัย. 2561. วิวัฒนาการแนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม ปีที่ 14 ฉบับที่ 2/2561
บานชื่น นักการเรียน และ เพ็ญศรี บางบอน. การพัฒนาที่ยั่งยืน.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2565. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม
ไกรศร วันละ, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. 2564. การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2564.
กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรม ส่วนนวัตกรรมการเรียนรู้. 2565. แนวทางและวิธีการสร้างนวัตกรรมในงาน. วารสารสิรินธรปริทรรศน์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2559
ปรัชญ์ หาญกล้า, พรสนองวงศ์สิงห์ทอง. 2557. การออกแบบเครื่องแต่งกายสตรีเพื่อพัฒนางานพื้นถิ่นให้เป้นสินค้าระดับชาติโดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาผ้าทอมือ อำเภอเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม-สิงหาคม 2557.
ติณณา อุดม และคณะ. 2564. สถาปัตยกรรมเมืองเก่าสงขลาสู่การเล่าเรื่องบนผืนผ้า : กระบวนการบูรณาการความรู้ด้านการเล่าเรื่องสู่การสร้างคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมและการออกแบบอย่างยั่งยืน. วารสารกระแสวัฒนธรรม
โศภิษฐ์ คงคากุล และ พัดชา อุทิศวรรณกุล. 2565. การออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์จากกลุ่่มชาติพันธุ์์บนพื้นที่่ดอยตุุงโดยใช้ทฤษฎีีความยั่่งยืนเพื่่อการส่่ งออกประเทศญี่ปุ่น. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (19) ม.ค - มิ.ย 65
บานชื่น นักการเรียน และ เพ็ญศรี บางบอน. การพัฒนาที่ยั่งยืน.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2565. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม
ไกรศร วันละ, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. 2564. การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2564.
กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรม ส่วนนวัตกรรมการเรียนรู้. 2565. แนวทางและวิธีการสร้างนวัตกรรมในงาน. วารสารสิรินธรปริทรรศน์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2559
ปรัชญ์ หาญกล้า, พรสนองวงศ์สิงห์ทอง. 2557. การออกแบบเครื่องแต่งกายสตรีเพื่อพัฒนางานพื้นถิ่นให้เป้นสินค้าระดับชาติโดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาผ้าทอมือ อำเภอเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มีนาคม-สิงหาคม 2557.
ติณณา อุดม และคณะ. 2564. สถาปัตยกรรมเมืองเก่าสงขลาสู่การเล่าเรื่องบนผืนผ้า : กระบวนการบูรณาการความรู้ด้านการเล่าเรื่องสู่การสร้างคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมและการออกแบบอย่างยั่งยืน. วารสารกระแสวัฒนธรรม
โศภิษฐ์ คงคากุล และ พัดชา อุทิศวรรณกุล. 2565. การออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์จากกลุ่่มชาติพันธุ์์บนพื้นที่่ดอยตุุงโดยใช้ทฤษฎีีความยั่่งยืนเพื่่อการส่่ งออกประเทศญี่ปุ่น. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (19) ม.ค - มิ.ย 65
-
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน หาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์