การกักเก็บพลังงาน

Energy Storage

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบสะสมพลังงานรูปแบบต่างๆ  และสามารถการออกแบบและสร้างระบบสะสมพลังงานหลักและระบบสะสมพลังงานสำรอง  และประยุกต์ใช้ระบบสะสมพลังงานกับแหล่งพลังงานทางเลือก และระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ได้
ให้เป็นไปตามการพัฒนาหลักสูตร ให้เป็นปัจจุบัน 
ระบบสะสมพลังงาน การออกแบบและสร้างระบบสะสมพลังงานหลักและระบบสะสมพลังงานสำรอง สมการทางคณิตศาสตร์และแบบจำลองของแบตเตอรี่ เซลล์เชื้อเพลิง SMES การประยุกต์ใช้ระบบสะสมพลังงานกับแหล่งพลังงานทางเลือก และระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 ระบบสะสมพลังงาน การออกแบบและสร้างระบบสะสมพลังงานหลักและระบบสะสมพลังงานสำรอง สมการทางคณิตศาสตร์และแบบจำลองของแบตเตอรี่ เซลล์เชื้อเพลิง SMES การประยุกต์ใช้ระบบสะสมพลังงานกับแหล่งพลังงานทางเลือก และระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ และรูปแบบของเทคโนโลยี Superconducting Magnetic Energy Storage (SMES) ทํางานโดยใช้ปฏิกิริยา สัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและพลังแม่เหล็กไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า electrodynamics principle Energy storage system, design and construction of main energy storage system and standby energy storage system, mathematical model of battery, fuel cell, SMES, application of energy storage system in alternation energy source and grid system หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 Energy storage system, design and construction of main energy storage system and standby energy storage system, mathematical model of battery, fuel cell, SMES, application of energy storage system in alternation energy source and grid system including Superconducting Magnetic Energy Storage (SMES)
3 ชั่วโมง  กำหนดจากเวลาว่างของนักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนเป็นหลัก
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
-เอกสารประกบการเรียนการสารสอน ระบบสะสมพลังงาน Energy Storage System
รองศาสตราจารย์ ดร.บุญยัง ปลั่งกลาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- Energy Storage Fundamentals, Materials and Applications Authors: Huggins, Robert.
- Energy Storage: Systems and Components :1st Edition :Alfred Rufer.
- Energy Storage: A Nontechnical Guide : by Richard Baxter.
เทคโนโลยีพลังงาน, บุญยัง ปลั่งกลาง, เอกสารประกอบการสอน, มทร.ธัญบุรี, 2560
การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ การประเมินวิธีการสอนระหว่างภาค โดยให้นักศึกษาให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ

3.ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านช่องทาง ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ หรือพบปะพูดคุย
1. การประชุมร่วมของอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอคำแนะนำ/ข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่มีความรู้ในการใช้กลยุทธ์การสอน
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ผู้สอนรายวิชา ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์ท่านอื่น หลังการวางแผนกลยุทธ์การสอนสำหรับรายวิชา
3. การสอบถามจากนักศึกษา ถึงประสิทธิผลของการเรียนรู้จากวิธีการที่ใช้ โดยใช้แบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุ่มนักศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอน
4. ประเมินจากการเรียนรู้ของนักศึกษา จากพฤติกรรมการแสดงออก การทำกิจกรรม และผลการสอบ
สอนตามเนื้อหาและอ้างอิงตามเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
1. ประเมินรายละเอียดรายวิชาว่าผลการเรียนรู้ที่กำหนดสอดคล้องกับความรับผิดชอบในหลักสูตร
2. ประเมินข้อสอบของรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดในรายละเอียดวิชา
3. การเปรียบเทียบวิเคราะห์คะแนน
อาจารย์ประจำวิชาทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบในระหว่างภาคการศึกษา ปรับปรุงทันทีหลังจากข้อมูลที่ได้รับ เมื่อสิ้นภาคการศึกษา จัดทำรายงานผลการดำเนินการรายวิชา (มคอ.3 และหรือ มคอ.5) เสนอกรรมการบริหารหลักสูตร