แคลคูลัสประยุกต์สำหรับวิศวกร
Applied Calculus for Engineers
เข้าใจพิกัดเชิงขั้วและสมการอิงตัวแปรเสริม
เข้าใจเวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ และนำแคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และปริพันธ์ตามเส้นไปใช้
นำปริพันธ์เชิงตัวเลขไปใช้
แก้ปัญหาแคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของหลายตัวแปรและการประยุกต์
เข้าใจอนุกรมอนันต์และการทดสอบการลู่เข้า อนุกรมกําลัง อนุกรมเทย์เลอร์ และอนุกรมแมคคลอริน
นำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ
ศึกษาเกี่ยวกับ พิกัดเชิงขั้วและสมการอิงตัวแปรเสริม เวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์ ปริพันธ์ตามเส้น ปริพันธ์เชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของหลายตัวแปรและการประยุกต์ อนุกรมอนันต์และการทดสอบการลู่เข้า อนุกรมกําลัง อนุกรมเทย์เลอร์ และอนุกรมแมคคลอริน
1
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | FUNMA111 | แคลคูลัสประยุกต์สำหรับวิศวกร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.3 | การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา | ทุกสัปดาห์ | 4% |
2 | 1.1.1, 1.1.3 | สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน | ทุกสัปดาห์ | 4% |
3 | 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 | ทดสอบกลางภาค | 9 | 40% |
4 | 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 | ทดสอบปลายภาค | 18 | 40% |
5 | 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.3, 5.1.2 | 1. พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย 2. พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม 4. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน | 2-8, 11-16 | 12% |
1. เอกสารประกอบการเรียน, “แคลคูลัสประยุกต์สำหรับวิศวกร”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2. Anton Howard, “Calculus with Analytic Geometry”, Seventh Edition, 2002
2. Anton Howard, “Calculus with Analytic Geometry”, Seventh Edition, 2002
-
1. โทมัส , จอร์จ . แคลคูลัส เกียรติฟ้า ตั้งใจจิต และคณะ กรุงเทพฯ เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโด ไชน่า , 2548
2. John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice Hall Inc., 2002.
3. Kreyszig, Erwin. Advance Engineering Mathematics. 6 th ed. New york: John Wiley andSons. Inc., 1988 .
4. Mendelsons, Elliott, Schaum' s 3000 solved problems in Calculus. New york : McGraw - Hill Book Company, 1988 .
2. John Thomas, Thomas’ Calculus, Pearson education Indochina ltd , 2005. Monty J. Strauss, Gerald L. Bradley and Karl J.Smith., Calculus. 3rd Edition, Prentice Hall Inc., 2002.
3. Kreyszig, Erwin. Advance Engineering Mathematics. 6 th ed. New york: John Wiley andSons. Inc., 1988 .
4. Mendelsons, Elliott, Schaum' s 3000 solved problems in Calculus. New york : McGraw - Hill Book Company, 1988 .
1.1 นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
1.2 ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
1.2 ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
2.1 ประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา
2.2 ประเมินผลการเรียนการสอนโดยหัวหน้าแผนกวิชาคณิตศาสตร์
3.1 นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน
และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2 นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน 3.3 ทำวิจัยในชั้นเรียน
และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2 นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน 3.3 ทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3 แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4 ใช้ข้อสอบร่วม
5.1 บันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2 ประชุมผู้สอนร่วม
5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม