สื่อศิลปะ 3

Media Art 3

1. ศึกษาหลักการภาพยนต์แนวทดลอง วีดีโออาร์ต หนังสั้น การเขียนสตอรี่บอร์ด บทภาพยนต์ และเสียงทดลอง 2. เข้าใจในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อศิลปะและเทคโนโลยีต่างๆ ในการสร้างสรรค์ผลงาน 3. ฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 4. ทดลองการสร้างสรรค์ผลงานในหลายรูปแบบ 5. นำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ ของภาพและวีดีโอ
ศึกษาหลักการภาพยนต์แนวทดลอง วีดีโออาร์ต หนังสั้นและบทภาพยนต์ และเสียงทดลอง เข้าใจในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อศิลปะและเทคโนโลยีต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงาน ฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ทดลองการสร้างสรรค์ผลงานในหลายรูปแบบ นำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของภาพและวีดีโอ
อาจารย์ผู้สอนจะให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จํานวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกําหนดเวลาล่วงหน้า
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่นและเพื่อนในชั้นเรียน   มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานที่เกี่ยวกับสื่อศิลปะสมัยใหม่ที่สำคัญทั้งในไทยและต่างประเทศ แนะนำให้ศึกษาและพัฒนานำเอาข้อดีของผลงานเพื่อนำมาปรับปรุงในผลงานให้ดีขึ้น ต้องไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน นำผลงานของผู้อื่นมาศึกษาปรับปรุงต้องอ้างอิงถึงทุกครั้ง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา 2   ตั้งใจในการศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยความสนใจ 3   ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
    มีความรู้ในหลักการและมีทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
บรรยายบรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานและนำเสนอก่อนการปฏิบัติงาน   ลงมือฝึกปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด
ตรวจให้คะแนนผลงานปฏิบัติในแต่ละหัวข้อที่กำหนด
สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะสมัยใหม่
   3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา                          และการนำเสนอผลงาน    3.2.2   อภิปรายกลุ่ม    3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในกระบวนการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่      3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   นักศึกษาร่วมอภิปรายในชั่วโมงบรรยายทฤษฎี
3.3.2  ตรวจผลงานปฏิบัติ พร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกัน 4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   อภิปรายอย่างมีส่วนร่วม 4.2.2   การนำผลงานไปจัดนิทรรศการ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละฝ่าย 4.2.3   กำหนดส่งงานตามหัวข้อที่กำหนด
4.3.1  นักศึกษาร่วมอภิปรายในชั่วโมงบรรยายทฤษฎี 4.3.2  ตรวจผลงานปฏิบัติ พร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงาน                         อย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง 5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.3   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   อภิปราย ซักถามระหว่างบรรยายเพื่อเน้นความเข้าใจ 5.2.2   ศึกษานอกเวลาค้นคว้ารายงาน สืบค้นแหล่งข้อมูลจากหนังสือและอินเตอร์เน็ต                           เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการสร้างสรรค์ผลงานองค์ประกอบศิลป์
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และงานที่เสร็จสมบูรณ์ 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA141 สื่อศิลปะ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-17 การฝึกปฏิบัติ แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 1-17 20%
2 1-17 Project#1 - ภาพยนต์ทดลองและวีดีโออาร์ต (Experimental film and video art) ความคืบหน้า ผลงาน Project#1 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ Project#2 - หนังสั้น แนวทดลอง (Shot Film : Experimental film) ความคืบหน้า ผลงาน Project#2 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ Project#3 - วีดีโออาร์ตและการสร้างสรรค์วีดีโอบนตำแหน่งเฉพาะเจาะจง (Video Art and Video Mapping creation)

ความคืบหน้า ผลงาน Project#3 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ Project#Final - การสร้างสรรค์งานศิลปะส่วนตน: ภาพยนต์ทดลองและวีดีโออาร์ต (Thematic Work) ความคืบหน้า ผลงาน Project#4 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ 8/12/14/17 70%
3 1-17 จิตพิสัย 1-17 10%
เอกสารอ้างอิง
ธรรมปพน ลีอำนวยโชค. Intro to Animation. กรุงเทพฯ :  ฐานบุ๊คส์, 2550 บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. ศิลปะเขนงที่เจ็ด เพื่อวัฒนธรรมแห่งการิจารณ์ภาพยนต์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พับลิค บุเคอรี, 2552 นิวัฒน์  ศรีสัมมาชีพ. คิดและเขียนให้เป็นบทภาพยนตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออก, 2551 BORDWELL, David, THOMPSON, Kristin (2010). Film Art: An introduction. McGraw-Hill. New York. DAVID A., ROSSE and PETER Sellars. (1997). Bill Viola. Paris-New York. PEREC, GEORGES (1974). Espèces d’espaces. Paris: Editions Galilée.
LEV, Manovich. (2001). The language of New Media. Cambridege: The MIT Press. RUSH, Michael. (2005). New Media in art. London, Second edition Stockman, Steve. (2011). How to shoot video that dines’t suck. Workman Publishing. New York.
เอกสารอ้างอิงออนไลน์ MUÑOZ-ALONSO, L. (mars 2012). Antoni Muntadas, Frieze. Saisi le 25 avril 2015, de http:// www.frieze.com/issue/review/antoni-muntadas/.
PILAR CORRIAS GALLERY, « Rirkrit Tiravanija – Lung Neaw », Site officiel de la Galerie Pilar Corrias, Londres. URL : http://www.pilarcorrias.com/exhibitions/rirkrittiravanija/ Page consultée le 09 novembre 2012.
ROKEBY, D. « Biographie », Site officiel de l’artiste. URL : http://www.davidrokeby.com /home.html. Page consultée le 09 novembre 2012.
LEV, MANOVICH. (2001). The language of New Media. MIT Press. Saisi le 5 juin 2015, de http://faculty.georgetown.edu/irvinem/theory/Manovich-LangNewMedia-excerpt.pdf WEERASETHAKUL, A. « Biographie », Site officiel de l’artiste. URL : http://www.kickthemachine.com. Page consultée le 28 décembre 2012.
WIKIPEDIA. (2015, 15 mai). Ligne d’univers, Wikipédia, l’encyclopédie libre. Saisi le 23 mai 2015, de http://fr.wikipedia.org/wiki/Ligne_d%27univers.
WIKIPEDIA. (2015, 06 avril). Mapping, Wikipédia, l’encyclopédie libre. Saisi le 23 mai 2015, de http://fr.wikipedia.org/wiki/Mapping
www.wiring.org www.processing.org www.troikatronix.com www.madmapper.com
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยผลงานสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ