กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ทางการตลาด
Packaging Strategy in Marketing
1. เพื่อศึกษาหลักการบรรจุภัณฑ์ ลักษณะ หน้าที่ และประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาด
2. เพื่อศึกษาประเภทต่าง ๆ ของบรรจุภัณฑ์ วัสดุ และการออกแบบเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์
3. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์
4. เพื่อศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์
2. เพื่อศึกษาประเภทต่าง ๆ ของบรรจุภัณฑ์ วัสดุ และการออกแบบเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์
3. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์
4. เพื่อศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์
เพื่อให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชากลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ทางการตลาดเกิดประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพในอนาคต
หลักการบรรจุภัณฑ์ ลักษณะ หน้าที่ และประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาด ประเภทต่าง ๆ และลักษณะของบรรจุภัณฑ์ วัสดุบรรจุภัณฑ์ การออกแบบและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกบรรจุภัณฑ์ ข้อจำกัดด้านเศรษฐศาสตร์ การผลิต กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์และสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์
Principle of packaging ; characteristics, funtions and benefits of marketing package, various types and features of packaging ; factors involved packaging seleection ; restrictions on economics, production, laws and regulation of packaging and environment ; information technology and communication of packaging.
Principle of packaging ; characteristics, funtions and benefits of marketing package, various types and features of packaging ; factors involved packaging seleection ; restrictions on economics, production, laws and regulation of packaging and environment ; information technology and communication of packaging.
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และในเวลาที่ผู้เรียนมีความต้องการคำปรึกษาหรือการแนะนำทางวิชาการผ่านระบบออนไลน์หรือออนไซด์
1. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
2. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ ใรจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
3. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ ใรจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
3. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม มีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย อธิบายระเบียบการลงโทษผู้ทุจริตในการสอบ มีการมอบหมายงานกลุ่มเน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นการมีส่วนร่วมแกละแสดงความคิดเห็น รวมถึงเปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ประเมินจากการเข้าเรียน ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ความรู้กับสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อใจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน รางานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ ผลงานจากการศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ ประเมินจากงานที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน
1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่าง
เหมาะสมด้วยตนเอง
2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
การมอบหมายงานเพื่อศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษาและข้อมูลโดยจัดทำโครงงาน และบริหารจัดการการทำงานเป็นทีม การรายงานทางเอกสารและการรายงานหน้าชั้นเรียน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง จัดกิจกรรมเสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญษ ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ในขอบเขตรายวิชา
ประเมินจากโครงงาน และงานที่มอบหมาย การทำข้อสอบเน้นการแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม แกละสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม แกละสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
สอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชา จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อส่งเสริมบทลาททั้งผู้นำและผู้ตาม ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบแกละอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป มอบหมายงานที่ใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล มอบหมายงานที่ใช้การระดมความคิดและทำงานร่วมกัน
การสอบกลางภาค และปลายภาค ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา การรายงาน/นำเสนอหน้าชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง การทำงานเป็นทีม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญกับการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูล และข้อมูลเชิงตัวเลข บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เคือข่าย และซอฟท์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
การสอบกลางภาคและปลายภาค ผลงานของนักศึกษาที่ได้มอบหมายทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม ประเมินจากการสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงแหล่งที่มา การนำเสนอหน้าชั้นเรียนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสรุปอภิปรายและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องร่วมกัน
1. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สามารถนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม จัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอกดคล้องกับสถานการณ์ จัดให้นักศึกษาได้บูรณาการการเรียนกับการทำงาน การใช้ภาษาสื่อสาร และเข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
ผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม พฤติกรรมต่อการบูรณาการการเรียนเข้ากับการทำงาน การนำเสนอผลงาน การใช้ภาษาสื่อสาร การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์บนฐานข้อมูล และข้อมูลเชิงตัวเลข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคระห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ุ6. ทักษะการปฏิบัติงานในิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 2 | 1 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 3 | 4 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBABA650 | กลยุทธ์การบรรจุภัณฑ์ทางการตลาด |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1, 2.1.2 | การทดสอบ - การทดสอบกลางภาค - การทดสอบปลายภาค | 9 - 17 | 25% - 25% |
2 | 3.1.2, 4.1.2, 5.1.3 | ผลการฝึกปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย - ผลงานการฝึกปฏิบัติ - งานที่มอบหมาย และการส่งงานตามกำหนดเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
3 | 1.1.2 | การเข้าชั้นเรียน - เจตคติ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
การบรรจุภัณฑ์ ชีลาพร อินทร์อุดม มหาวิทยาลัยรามคำแหง
บรรจุภัณฑ์อาหาร ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ โดยความร่วมมือของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย
บรรจุภัณฑ์อาหาร ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ โดยความร่วมมือของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันทางการตลาด กรณีศึกษา : มะไฟจีนแปรรูป บ้านท่าน้าว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
http://www.crnfe.ac.th/packaging/unit1.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ