การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล

Basic Mechanical Engineering Training

สามารถฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม การใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือวัดละเอียด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน การใช้เลื่อยมือ การเจาะและกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมแบบต่างๆ ตลอดจนเครื่องมือกลเบื้องต้นในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในแบบ และการปฏิบัติงานโดยคำนึงควาามปลอดภัยอยู่เสมอ
เพื่อฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม การใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือวัดละเอียด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน การใช้เลื่อยมือ การเจาะและกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมแบบต่างๆ ตลอดจนเครื่องมือกลเบื้องต้นในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในแบบ และการปฏิบัติงานโดยคำนึงควาามปลอดภัยอยู่เสมอ
ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม การใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือวัดละเอียด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน การใช้เลื่อยมือ การเจาะและกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมแบบต่างๆ ตลอดจนเครื่องมือกลเบื้องต้นในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในแบบ และการปฏิบัติงานโดยคำนึงควาามปลอดภัยอยู่เสมอ
2 ชั่วโมง
1.1.1 มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิดแก้ไขปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทำงานและสภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคม ความรู้สึกของผู้อื่นและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มีจิตสำนึกในการธำรงความโปร่งใสของสังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นและความไม่ถูกต้อง ไม่ใช้ข้อมูลบิดเบือน หรือการลอกเลียนผลงาน
1.1.2 แสดงออกซึ่งความรักและศรัชธาและภาคภูมิใจในวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1.2.1 การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของครูต้นแบบ (Role Model)
1.2.2 กำหนดให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.3 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอนรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
1.3.1 การมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 
1.3.2 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 พฤติกรรมการเรียน การปฏิบัติงานตามสภาพจริงหรือในห้องปฏิบัติการ การปฏิบัติในสถานศึกษา
2.1.1 มีความรู้และเนื้อหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่างลึกซึ้ง ถ่องแท้ รวมทั้งบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการใช้เครื่องมือ การซ่อมแซม การบำรุงรักษา การสร้าง การพัฒนากระบวนการ ขั้นตอนในการทำงาน โดยคำนึงถึงผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการที่เกี่ยวข้องและนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้
2.2.1 การเรียนรู้โดยบูรณาการปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา
2.3.1 การวัดผลภาคปฏิบัติทักษะการปฏิบัติ
2.3.2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
3.1.1 สามารถคิดริเริ่มและพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์
3.1.2 สามารถคิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูล สื่อสารสนเทศ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างรู้เท่าทัน เป็นพลเมืองตื่นรู้ มีสำนึกสากล สามารถเผชิญและก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ามแพลตฟอร์มและโลกอนาคต นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และวินิจฉัยแก้ปัญหาและพัฒนางานได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ค่านิยม แนวคิด นโยบายและะยุทธศาสตร์ชาติ บรรทัดฐานทางสังคมและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
3.2.1 ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยฝึกทักษะด้านการปฏิบัติ
 
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมและพัฒนาการในด้านต่างๆ ของการมีส่วนร่วม
3.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาตนเอง กลุ่มและระหว่างกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์
4.1.2 ทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานเป็นทีม เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเอง ในวิชาชีพ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่น และความเป็นมนุษย์
4.2.1 ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลายหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยฝึกทักษะด้านการปฏิบัติการ
4.3.1 วัดและประเมินจากผลการเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ
4.3.2 วัดและประเมินจากการปฏิบัติงาน
5.1.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟแวร์หรือโปรแกรมสำเร็จรูปหรือแอปพลิเคชั่นหรือแพลตฟอร์ม รวมทั้งอุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จำเป็นสำหรับการจัดการเรียนรู้ การวิจัย การทำงาน และการประชุม รวมทั้งสามารถติดตามความก้าวหน้า การจัดการและการสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจที่ดีในการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีกทั้งตระหนักถึงการละเมิดลิขสิทธิ์และการลอกผลงาน
5.1.2 สื่อสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการที่หลายหลาย ทั้งการพูด การเขียน และการนำเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม
5.2.1 การสืบค้นและนำเสนอรายงานประเด็นสำคัญด้านการศึกษาโดยบูรณาการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
5.2.2 การเรียนรู้จากการปฏิบัติสอนในสถานศึกษา
5.3.1 วัดและประเมินผลจาการสืบค้นและนำเสนอรายงานประเด็นสำคัญการศึกษาที่มีการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
5.3.2 วัดและประเมินจากการปฏิบัติงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การตรงต่อเวลา และการฝึกความเป็นระเบียบ มีวินัยในตนเอง การแต่งกาย ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเสนอแนวความคิดและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน 1-17 20
2 ทักษะการปฏิบัติงาน การใช้เครื่องมือ และการบำรุงรักษาเบื้องต้น รวมถึงการฝึกความอดทน และมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการทำงาน อย่างถูกต้อง เหมาะสม การส่งงานปฏิบัติตามลำดับขั้นของใบงาน 1-17 60
3 ทักษะการปฏิบัติงาน การอ่านเครื่องมือวัด ปฏิบัติการอ่านเครื่องมือวัดขนาดชิ้นงาน 1-17 20
1.1  สงวนศิลป์  ภูหนองโอง , จรูญ  พรมสุทธิ์  , อำนาจ  ทองแสน.  งานฝึกฝีมือ.  นนทบุรี : บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำกัด 1.2  อำพล  ซื่อตรง  ,รองศาสตราจารย์วันชัย  จันทรวงศ์  ,อาจารย์ดีเตอร์  ชิปเปิร์ท.  งานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ 1.3  อนันต์  วงศ์กระจ่าง.  ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศรีสยาม 1.4  ธัญญลักษณ์  ก้องสมุท.  ปฏิบัติงานฝึกฝีมือ.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนทบุรี.  นนทบุรี :  ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ 1.5  ไชยศักดิ์  ศรีสุขเดช.  การวัดละเอียด.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตตาก.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา หลังจบภาคเรียน ในระบบทะเบียนกลาง
2.1  การสังเกตจากการเรียนการสอน 2.2  ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
ปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา และให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่จริง
4.1  การทดสอบการเรียนการสอนก่อนปิดภาคเรียน ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ 4.2 รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
5.1 ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆ ปี