การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง

Organizational Conflict Management and Negotiation

1. นักศึกษาเข้าใจแนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการจัดการความขัดแย้ง
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความขัดแย้งและหาแนวทางแก้ปัญหาความขัดแย้งในองค์การได้
3. นักศึกษาเข้าใจแนวทางการทำประชาพิจารณ์ การประชามติ เทคนิคการเจรจาต่อรอง
4. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และวางกลยุทธ์การเจรจาต่อรองเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
  เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้นำและผู้ปฏิบัติงานที่สามารถจัดการความขัดแย้งภายในตนเอง ภายในกลุ่ม และภายในองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
     แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการจัดการความขัดแย้ง การวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ปัญหาในสังคมสมัยใหม่ การจัดทำประชาพิจารณ์ การประชามติ แนวคิด ทฤษฎีและเทคนิคการเจรจาต่อรอง เพื่อพัฒนาทักษะในการเจรจาและโน้มน้าวคู่เจรจา วิธีการวิเคราะห์และจัดวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง ให้บรรลุเป้าหมายของธุรกิจ
จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ กรณีที่นักศึกษาแต่ละคนหรือรายกลุ่มต้องการคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและส่ิงแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
1.1.3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 ภายหลังเลิกเรียนให้นักศึกษารับผิดชอบปิดสวิทซ์ไฟฟ้าและเครื่องปรับอากาศ รวมทั้งถอดปลั๊กอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อให้มีจิตสำนึกเรื่องการดูแลรักษาของที่ใช้ร่วมกัน การประหยัด และป้องกันอุบัติเหตุ
1.2.2 ฝึกให้นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลาและส่งงานตรงตามกำหนดเวลาที่มอบหมาย 
1.2.3 สอดแทรกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งยกประเด็นปัญหาของบุคคลที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัวและชุมชน
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเรื่องการปิดสวิทซ์ไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ และปลั๊กอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าซึ่งใช้ในการเรียนการสอน ภายหลังเลิกเรียน
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานตรงตามกำหนดเวลา
1.3.3 การอภิปรายและมีส่วนร่วมในการอภิปรายของนักศึกษาในชั้นเรียนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒาความรู้ ติดตาาความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประ่ยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาลแะการดำรงชีวิตประจำวัน
2.2.1 สอนให้เข้าใจทฤษฎี และประยุกต์ใช้ความรู้ด้วยการศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นได้จริงภายในองค์การ
2.2.2 นำกรณีศึกษาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันมาให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และบุูรณาการเชื่อมโยงกับสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องได้
2.3.1 ประเมินจากงานที่มอบหมาย เช่น การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.1.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรัยบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.1 มอบหมายงานวิเคราะห์และแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลองและเสนอแนวทางแก้ไขความขัดแย้ง
3.3.1 ให้นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดซึ่งต้องวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากความขัดแย้ง โดยอธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา
3.3.2 ทดสอบโดยออกข้อสอบให้นักศึกษาวิเคราะห์ อธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาโดยประยุกต์และบูรณาการความรู้่ที่เกรียนมา
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผ้ธูอ่ืน รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย้างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเร่ิม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่การแก้ไขปัญหาขแงทีม สามารภใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้เอมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 มอบหมายงานโดยให้นักศึกษาทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม เปลี่ยนบทบาทระหว่างกันมีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล และระดมความคิดในการทำงานร่วมกัน
4.3.1 สังเกตและประเมินจากพฤติกรรมการทำงานร่วมกันในงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมในการระดมสมอง
5.1.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของการสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่ำจเป็นต่อการทำธะรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเทคโนโลยีมาใช้
5.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.2 สังเกตความสามารถ ความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสืบค้นและศึกษาข้อมูล
5.3.3 ประเมินจากความสามารถในการนำเสนอความคิดเห็นโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง และนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ได้เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสิ่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น 1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและส่ิงแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาสะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวันที่ศึกษา สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 3.3 คิดอย่างมีวิจารณาญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำกและผู้ตาม 5.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 5.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองคึ์การได้เป็นอย่างดี
1 BBABA227 การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล