การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

เพื่อให้นักศึกษา 1. มีความรู้เกี่ยวกับหลักการในการเขียนและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. ทราบถึงขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3. มีความรู้และเข้าใจการท างานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4. สามารถเขียนขั้นตอนวิธีและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ 5. สามารถน าความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบ และมีขั้นตอน 6. มีจรรยาวิชาชีพ ด้านคอมพิวเตอร
1. เพื่อปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้เหมาะสมและทันสมัย 2. เพื่อให้นักศึกษามีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรม เพื่อนำไปใช้ในการศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในสาขาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ฐานความรู้ในวิชานี้เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม ประเภทข้อมูลแบบต่างๆ ค่าคงที่ ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ คำสั่งในการควบคุมการทำงาน อาร์เรย์ โปรแกรมย่อย และอาร์กิวเมนต์ วิธีการนำข้อมูลเข้าและออกอย่างง่าย การเขียนโปรแแกรมเพื่อทำงานกับแฟ้มข้อมูล รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ดี เทคนิคการแก้ปัญหาต่างๆ 
2 ชม. ต่อสัปดาห์ ในวันพุธ ช่วงคาบกิจกรรม
มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ ตาม สามารถท างานเป็นทีมและสามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งและล าดับความสำคัญ
1. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative learning)
1. การสังเกตพฤติกรรม 2. การประเมินการบ้าน
สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการและวิวัฒนาการ คอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
1. การบรรยาย 2. การฝึกปฏิบัติ (Practice)
1. การประเมินการบ้าน 2. การสอบกลางภาค
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็น ระบบ
1. การบรรยาย 2. การฝึกปฏิบัติ (Practice)
1. การสอบข้อเขียน/สอบย่อย
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้น า สังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การใช้กรณีศึกษา (Case)
1. การประเมินรายงาน/โครงงาน
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ อย่างเหมาะสม
การสรุุปประเด็นสำคัญ หรือการนำเสนอผลของการสืบค้นที่ได้รับ มอบหมาย
การประเมินรายงาน/โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative learning) 1. การบรรยาย 2. การฝึกปฏิบัติ (Practice) 1.คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็น ระบบ 3.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้น า สังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ อย่างเหมาะสม
1 ENGCC304 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ สอบข้อเขียน 6 20%
2 การมีส่วนร่วม สังเกตุพฤติกรรม ทั้งภาคการศึกษา 20%
3 การรับผิดชอบ การมอบหมายงาน ทั้งภาคการศึกษา 20%
4 คุณธรรม จรียธรรม สังเกตุและการเข้าเรียน ทั้งภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะและการประยุกต์ใช้งาน สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9, 18 20%
สานนท์ เจริญฉาย, ผศ. (2544). การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุ. ระพีพรรณ พิริยะกุล, รศ. (2531). เทคนิคในการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ:ยูไนเต็ดท์บุ๊คส
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
้านที่ 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ด้านที่ 2 ด้านความรู้
ด้านที่ 3 ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านที่ 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
ด้านที่ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของ อาจารย์หรือหน่วยงานต่าง ๆ