การควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

Industrial Motor Control

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิด โครงสร้าง ส่วนประกอบและหลักการทำงานของมอเตอร์กระแสตรง มอเตอร์กระแสสลับทั้ง 1 เฟสและ 3 เฟส สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ การอ่านแบบและเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ การเริ่มเดินและการกลับทางหมุนมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรมการควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์แปลงผันกำลังไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมการตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ทางด้านการควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการนำไปประยุกต์ใช้งานในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิด โครงสร้าง ส่วนประกอบและหลักการทำงานของมอเตอร์กระแสตรง มอเตอร์กระแสสลับทั้ง 1 เฟสและ 3 เฟส สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ การอ่านแบบและเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ การเริ่มเดินและการกลับทางหมุนมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรมการควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์แปลงผันกำลังไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมการตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล ­­­การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
2. อภิปรายกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอใบงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญของศึกษาเกี่ยวกับชนิด โครงสร้าง ส่วนประกอบและหลักการทำงานของมอเตอร์กระแสตรง มอเตอร์กระแสสลับทั้ง 1 เฟสและ 3 เฟส สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์ การอ่านแบบและเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ การเริ่มเดินและการกลับทางหมุนมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรมการควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์แปลงผันกำลังไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมการตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์
บรรยายและฝึกปฏิบัติการเลือกใช้อุปกรณ์การออกแบบการควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรมการต่อวงจรไฟฟ้าเพื่อควบคุมการทำงานของมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3 ประเมินจากการฝึกปฏิบัติการต่อวงจรตามใบงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา  เกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการออกแบบควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
3.3.2  วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 , 3.1 , 5.1 สอบทฤษฎีกลางภาคเรียน ปลายภาคเรียน 8 และ 15 15% , 15%
2 2.1 , 3.1 , 4.1 , 5.12 , 5.13 , 5.14 , 5.15 การปฏิบัติงาน , การทำใบงาน , การทำรายงาน และการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 20%
3 1.1 , 4.1 การเข้าชั้นเรียน , การมีส่วนร่วม , การอภิปราย , การเสนอความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือการควบคุมมอเตอร์  โดย ผศ.อำนาจ   ทองผาสุข , ผศ. วิทยา   ประยงค์พันธ์
2. คู่มือการใช้งานอินเวอร์เตอร์ยี่ห้อ OMRON