ช่องทางการตลาดแบบไร้รอยต่อ

Omni Channel Marketing

เพือให้นักศึกษามีความรู้ การเข้าใจและการวิเคราะห์แนวคิด การออกแบบ การคัดเลือก การจัดการ การประเมินช่องทางจัดจำหน่าย การจัดการเกี่ยวกับสมาชิกในช่องทางการตลาด การค้าสมัยใหม่ การส่งกำลังบำรุงทางการตลาด การกระจายสินค้า เทคฌนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน มีความเข้าใจถึงความจำเป็นของการจัดการช้องทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในส่วนประสมทางการตลาด และการดำเนินงานด้านการตลาด รวมถึงสามารถนำความรู้ด้านการตลาดมาประยุกต์ใช้ในการวิเคตราะห์และออกแบบช่องทางการตลาดได้อย่างเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของการตัดสินใจในธุรกิจจริง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มช่องทางการจัดจำหน่ายทางการตลาดที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ระบบ แนวคิด และการออกแบบการกระจายสินค้า การเชื่อมโยงเครือข่ายทุกช่องทางการตลาดให้เป็นหนึ่งเดียวกัน การกำหนดกลยุทธ์ช่องทางการตลาดที่หลากหลายทั้งออฟไลน์และออนไลน์ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
อาจารย์ประจำวิชา ประกาศผ่าน Social Network ( Facebook) อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องาร 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 1.3   มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 
 
1.2.1 อาจารย์ที่สอนทุกรายวิชาในหลักสูตรการตลาด สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม      1.2.2 ให้ความสาคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนด      1.2.3 จัดกิจกรรม/ โครงการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 
1.3.1 ประเมินจากการสอบ/แบบทดสอบ      1.3.2 ประเมินจากการขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา      1.3.3 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการของนักศึกษา    
 
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดาเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจสาระสาคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผนการปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดาเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมี ความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.2.1    จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.2.2    ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2.2.3    มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด และรายงาน   
2.3.1 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี 2.3.2 ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย และการทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
 
3.2.1    การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงานโดยให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา โดยการให้แข่งขันการเข้าร่วมกิจกรรม แม็คโครและนักศึกษามหาวิทยาลัยร่วมพัฒนาร้านค้าปลีกท้องถิ่น ปี2563
3.3.1  ประเมินจากรูปเล่มรายงานการแข่งขัน 3.3.2  ประเมินจากการนำเสนอในการแข่งขัน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่ม 
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่ส่ง 4.3.2  สังเกตพฤติกรรมทำงานกลุ่ม และการเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.3  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 การถาม-ตอบในชั้นเรียน 5.2.2 การนำเสนอ
5.3.1 ประเมินจากการถาม-ตอบในชั้นเรียน 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
ให้เข้าร่วมการแข่งขันการเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้น
ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสทเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 4 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BBABA634 ช่องทางการตลาดแบบไร้รอยต่อ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9 และ 18 30% และ 30% รวม 60%
2 1.2, 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 4.1, 4.4, 5.2, 5.3, 6.1 การนำเสนอรายงาน และการส่งรูปเล่มรายงานที่มอบหมาย 13, 17 20%
3 .2, 1.3, 2.2, 5.3, 6.1 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.2, 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 4.4, 5.2, 6.1 การตอบคำถามท้ายบทแต่ละบท ตลอดภาคการศึกษา 10%
ปรีดา ตัญจนะ. (2565). เอกสารประกอบการสอนวิชาช่องทางการจัดจำหน่ายทางการตลาด. ลำปาง: สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง.
-
เกยูร ใยบัวกลิ่น. (2554). นโยบายการจัดจำหน่าย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด. คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). ระบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด. นพมาศ สุวชาติ .(2552). การจัดการจำหน่าย. ขอนแก่น. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บริษัท พัฒนกิจ บัญชี ภาษีและฝึกอบรม จำกัด. (2557). 7 วิธีเพื่อการบริการลูกค้าที่เป็นเลิศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.pattanakit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538687173 &Ntype=121., 18 มิถุนายน 2557. ยุพิน พิทยาวัฒนชัย. (2552). การจัดการช่องทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บริษัท ซี.วี. แอล.การพิมพ์. รัชนี จินตชาติ และดวงรัตน์ จินตชาติ. (2550). หลักการจัดการการกระจายสินค้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. Pride and Ferrell. (2007). Pride – Ferrell Foundations of marketing. U.S.A.: Houghton Mifflin Company.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากประเมินผลการสอน จึงมีการปรับปรุงโดยการจัดกิจกรรม หากรณีศึกษาในการอภิปรายระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา  4.2 ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำข้อเสนอแนะของที่นักศึกษาได้เสนอแนะมาปรับปรุง ในส่วนที่ผิดพลาดให้ดีขึ้น ภาพรวม และในแต่ละรายวิชา กรณีที่พบปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดำเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆ ได้ทันที