โภชนศาสตร์สัตว์
Animal Nutrition
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้ความหมาย และเข้าใจความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์ที่มีต่อสัตว์และการเลี้ยงสัตว์ 1.2 รู้ประเภท และเข้าใจบทบาทของโภชนะต่างๆในร่างกายสัตว์
1.3 รู้ และเข้าใจการย่อยอาหาร ดูดซึมโภชนะของสัตว์
1.4 รู้ และเข้าใจกระบวนการเมตาโบลิซึมของโภชนะที่ให้พลังงาน
1.5 นำความรู้ ทักษะในการประเมิน และวิเคราะห์คุณภาพทางโภชนะในอาหารสัตว์ (Proximate analysis)ไปประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงสัตว์จริงในชีวิตประจำวัน
1.6 รู้ และเข้าใจความต้องการโภชนะของสัตว์แต่ละชนิด
1.7 รู้ และเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับโภชนศาสตร์สัตว์เขตร้อนและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
1.1 รู้ความหมาย และเข้าใจความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์ที่มีต่อสัตว์และการเลี้ยงสัตว์ 1.2 รู้ประเภท และเข้าใจบทบาทของโภชนะต่างๆในร่างกายสัตว์
1.3 รู้ และเข้าใจการย่อยอาหาร ดูดซึมโภชนะของสัตว์
1.4 รู้ และเข้าใจกระบวนการเมตาโบลิซึมของโภชนะที่ให้พลังงาน
1.5 นำความรู้ ทักษะในการประเมิน และวิเคราะห์คุณภาพทางโภชนะในอาหารสัตว์ (Proximate analysis)ไปประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงสัตว์จริงในชีวิตประจำวัน
1.6 รู้ และเข้าใจความต้องการโภชนะของสัตว์แต่ละชนิด
1.7 รู้ และเข้าใจปัญหาเกี่ยวกับโภชนศาสตร์สัตว์เขตร้อนและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
: เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานด้านโภชนศาสตร์สัตว์ที่มีอยู่พัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยมีความสอดคล้องกับความรู้วิทยาการเทคโนโลยีใหม่ๆ เหตุการณ์สภาพการผลิตสัตว์ในปัจจุบัน ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆในวงการปศุสัตว์ที่เกี่ยวกับโภชนศาสตร์สัตว์สู่การเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์ โภชนะชนิดต่างๆในอาหารสัตว์ การย่อยอาหาร ดูดซึมและเมตาโบลิซึมโภชนะแต่ละชนิด ความต้องการโภชนะของสัตว์เลี้ยง การประเมิน และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนะในอาหารสัตว์
6
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1 1.2 1.3 และ 1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1 1.2 1.3 และ 1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
-ใช้การสอนแบบเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของโภชนศาสตร์สัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของโภชนศาสตร์สัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของโภชนศาสตร์สัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของโภชนศาสตร์สัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
-ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯและคณะจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา การเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโสและอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่มโดยมีรายละเอียดประเมินดังนี้
1. การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียนว่ามีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม มีการคัดลอกรายงานของนักศึกษาผู้อื่นหรือไม่
4. บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
1. การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียนว่ามีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม มีการคัดลอกรายงานของนักศึกษาผู้อื่นหรือไม่
4. บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 2.2 และ 2.3 เป็นความรับผิดชอบ
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 2.2 และ 2.3 เป็นความรับผิดชอบ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้ง การสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องเกี่ยวกับเกี่ยวกับโรคจากการขาดโภชนะต่างๆที่เกิดขึ้นในสัตว์ เป็นต้น บรรยายเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญด้านโภชนศาสตร์สัตว์ โภชนะชนิดต่างๆในอาหารสัตว์ การย่อยอาหาร ดูดซึมและเมตาโบลิซึมโภชนะหลักที่ให้พลังงาน ความต้องการโภชนะของสัตว์เลี้ยง การประเมิน และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนะในอาหารสัตว์ ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อ หรือบทเรียน
ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับโชนศาสตร์สัตว์
ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับโชนศาสตร์สัตว์
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ข้อ 3.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
ข้อ 3.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ข้อ 3.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
ข้อ 3.2 เป็นความรับผิดชอบรอง
-การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ และให้นักศึกษาภายในกลุ่มระดมสมองนำเสนอข้อคิดเห็นเป็นรายกลุ่ม รวมทั้งการถามนักศึกษาเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งให้แสดงความคิดเห็นตามที่นักศึกษาเข้าใจ
-สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดภายในกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา หรือเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
-สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ให้นักศึกษาแสดงความเห็น และหรือระดมความคิดภายในกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา หรือเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคล และกลุ่ม
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอ
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 4.1, 4.2 4.3และ 4.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 4.1, 4.2 4.3และ 4.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่เป็นประเด็นด้านความก้าวหน้าทางโภชนศาสตร์สัตว์ และงานวิจัยใหม่ๆ มอบหมายงาน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 5.1 5.2และ 5.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 5.1 5.2และ 5.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
-การมอบหมายงานด้วยการให้สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมแล้วจัดทำรายงาน
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
ใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 ,4.1, 4.2, 4.3 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-8 , 10-17 4-8 , 10-17 1-8 , 10-17 | 5% 2.5% 2.5% |
2 | 3.1, 3.2,4.1, 4.2, 4.3 | การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | 1-8 , 10-17 | 2.5% |
3 | 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 | การทดสอบย่อย 5 ครั้ง | 3,5,7,12,14 | 45% |
4 | 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 | การสอบกลางภาค | 9 | 15% |
5 | 1.2, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 | การนำเสนองาน/การรายงาน | 12-17 | 15% |
6 | 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3, 6.4, 6.5 | การสอบปลายภาค | 18 | 12.5 % |
นิรันดร กองเงิน. 2549. เอกสารประกอบการสอนวิชาโภชนศาสตร์สัตว์. สาขาสัตวศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง,ลำปาง. 364 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 160 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2546. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ปรับปรุงครั้งที่ 2. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 202 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2532. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 3 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 258 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 170 น.
บุญเสริม ชีวะอิสระกุล และ บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2542. พื้นฐานสัตวศาสตร์. ธนบรรรณการพิมพ์, เชียงใหม่. 186 น.
พรศรี ชัยรัตนายุทธ์. 2536. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 258 น.
พานิช ทินนิมิตร. 2535. โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา. 251 น.
พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. 2535. หลักอาหารสัตว์ เล่ม 1 โภชนะ. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 208 น.
เพทาย พงษ์เพียจันทร์. 2538. สรีรวิทยาสัตว์เลี้ยง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 282 น.
มนตรี จุฬาวัฒนทล ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ภิญโญ พานิชพันธ์ ประหยัด โกมารทัต พิณทิพ รื่นวงษา ธีรยศ วิทิตสุวรรณกุล บุรชัย สนธยานนท์ สุมาลีตั้งประดับกุล และ มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล. 2542. ชีวเคมี. จิรรัชการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 589 น.
เยาวมาลย์ ค้าเจริญ และ สาโรช ค้าเจริญ. 2530. อาหารและการให้อาหารสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น. 301 น.
วรจันทรา และ รณชัย สิทธิไกรพงษ์. 2539. โภชนศาสตร์สัตว์. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 216 น.
เสาวนิต คูประเสริฐ. 2537. โภชนาศาสตร์สัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. 447 น.
อังคณา หาญบรรจง และ ดวงสมร สินเจิมสิริ. 2532. การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพอาหารสัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 155 น.
Brody, T. 1994. Nutritional Biochemistry. Academic Press, Inc. California. U.S.A. 658 p.
Berne, R.M. and M.N. Levy. 1996. Principle of physiology. Mosy-Year book,Inc. Missouri. 795 p.
Church,D.C. 1979. Digestive physiology and nutrition of ruminants. Vol.2 – Nutrition 2nd edition. Oxford press. Oregon. 452 p.
Chesworth, J.M., T. Stuchbury, J.R. Scaife. 1998. An Introduction to Agricultural Biochemistry. Chapman & Hall. New York. 489 p.
Dey, P. M. and J. B. Harborne. 1997. Plant Biochemistry. Academic Press Inc. California. 554 p.
Ensminger, M.E., J.E. Oldfield, W.W. Heinemann. 1990. Feed & Nutrition Digest. 2nd ed. The Ensminger publishing company. California. 794 p.
Horton,H.R., L.A.,Moran,R.S.,Ochs,J.D.Rawn and K.G.Scrimgeour. 1992. Principles of Biochemistry. Prentice-Hall International Inc. New Jersey. 700 p.
McDonald, P., R. A. Edwards, and J. F. D. Greenhalgh. 1987. Animal Nutrition. 4th ed. Longman Scientific & Technical, Essex, England. 543 p.
McDowell, L. R. 1992. Mineral in Animal and Human Nutrition. Academic Press, Inc. California. 523 p.
McDowell, L. R. 1997. Minerals for Grazing Ruminants in Tropical Regions. 3th edition. IMC AGRICO. Feed ingredients, Florida. 81 p.
McKee, T. and J.R., McKee. 2003. Biochemistry: The Molecular Basis of Life. 3th edition. McGraw –Hill, New York.
E. R., D. E. Ullrey, A. J. Lewis. 1991. Swine Nutrition. Butterworth-Heunemann, London. 673 p.
NRC. 1988. Nutrient Requirements of Dairy Cattle. 6th Revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1994. Nutrient Requirements of Poultry. 9th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1996. Nutrient Requirements of Beef Cattle. 7th revised edition. National Academy Press, Washiton,D.C.
NRC. 1998. Nutrient Requirements of Swine. 10th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
Pond, W.G., D.C. Church and K.R. Pond. 1995. Basic Animal Nutrition. 4th edition.. John Willey & Son, New York. 615 p.
Ranjhan, S. K. 1993. Animal Nutrition and Feeding Practices. 4th edition. Vikas publishing house PVT Ltd., New Delhi, India. 415 p.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 160 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2546. ชีวเคมีทางสัตวศาสตร์. ปรับปรุงครั้งที่ 2. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 202 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2532. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 3 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 258 น.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตร์สัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 6 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่ 170 น.
บุญเสริม ชีวะอิสระกุล และ บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. 2542. พื้นฐานสัตวศาสตร์. ธนบรรรณการพิมพ์, เชียงใหม่. 186 น.
พรศรี ชัยรัตนายุทธ์. 2536. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 258 น.
พานิช ทินนิมิตร. 2535. โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 2. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา. 251 น.
พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. 2535. หลักอาหารสัตว์ เล่ม 1 โภชนะ. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 208 น.
เพทาย พงษ์เพียจันทร์. 2538. สรีรวิทยาสัตว์เลี้ยง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 282 น.
มนตรี จุฬาวัฒนทล ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ภิญโญ พานิชพันธ์ ประหยัด โกมารทัต พิณทิพ รื่นวงษา ธีรยศ วิทิตสุวรรณกุล บุรชัย สนธยานนท์ สุมาลีตั้งประดับกุล และ มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล. 2542. ชีวเคมี. จิรรัชการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 589 น.
เยาวมาลย์ ค้าเจริญ และ สาโรช ค้าเจริญ. 2530. อาหารและการให้อาหารสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น. 301 น.
วรจันทรา และ รณชัย สิทธิไกรพงษ์. 2539. โภชนศาสตร์สัตว์. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 216 น.
เสาวนิต คูประเสริฐ. 2537. โภชนาศาสตร์สัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. 447 น.
อังคณา หาญบรรจง และ ดวงสมร สินเจิมสิริ. 2532. การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพอาหารสัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 155 น.
Brody, T. 1994. Nutritional Biochemistry. Academic Press, Inc. California. U.S.A. 658 p.
Berne, R.M. and M.N. Levy. 1996. Principle of physiology. Mosy-Year book,Inc. Missouri. 795 p.
Church,D.C. 1979. Digestive physiology and nutrition of ruminants. Vol.2 – Nutrition 2nd edition. Oxford press. Oregon. 452 p.
Chesworth, J.M., T. Stuchbury, J.R. Scaife. 1998. An Introduction to Agricultural Biochemistry. Chapman & Hall. New York. 489 p.
Dey, P. M. and J. B. Harborne. 1997. Plant Biochemistry. Academic Press Inc. California. 554 p.
Ensminger, M.E., J.E. Oldfield, W.W. Heinemann. 1990. Feed & Nutrition Digest. 2nd ed. The Ensminger publishing company. California. 794 p.
Horton,H.R., L.A.,Moran,R.S.,Ochs,J.D.Rawn and K.G.Scrimgeour. 1992. Principles of Biochemistry. Prentice-Hall International Inc. New Jersey. 700 p.
McDonald, P., R. A. Edwards, and J. F. D. Greenhalgh. 1987. Animal Nutrition. 4th ed. Longman Scientific & Technical, Essex, England. 543 p.
McDowell, L. R. 1992. Mineral in Animal and Human Nutrition. Academic Press, Inc. California. 523 p.
McDowell, L. R. 1997. Minerals for Grazing Ruminants in Tropical Regions. 3th edition. IMC AGRICO. Feed ingredients, Florida. 81 p.
McKee, T. and J.R., McKee. 2003. Biochemistry: The Molecular Basis of Life. 3th edition. McGraw –Hill, New York.
E. R., D. E. Ullrey, A. J. Lewis. 1991. Swine Nutrition. Butterworth-Heunemann, London. 673 p.
NRC. 1988. Nutrient Requirements of Dairy Cattle. 6th Revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1994. Nutrient Requirements of Poultry. 9th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
NRC. 1996. Nutrient Requirements of Beef Cattle. 7th revised edition. National Academy Press, Washiton,D.C.
NRC. 1998. Nutrient Requirements of Swine. 10th revised edition. National Academy Press, Washiton, D.C.
Pond, W.G., D.C. Church and K.R. Pond. 1995. Basic Animal Nutrition. 4th edition.. John Willey & Son, New York. 615 p.
Ranjhan, S. K. 1993. Animal Nutrition and Feeding Practices. 4th edition. Vikas publishing house PVT Ltd., New Delhi, India. 415 p.
วารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาโภชนศาสตร์สัตว์ ได้แก่ วารสารสัตวบาล J. of Animal Science, J. of Dairy Science, Poultry Science เป็นต้น
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาโดยสืบค้นหาจากคำสำคัญในเนื้อหารายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
7.5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ7.4
7.5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
7.5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ7.4
7.5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ