การวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด
Marketing Data Analytics
1.1 นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์แนวโน้ม และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
1.2 นักศึกษาสามารถใช้สถิติ ตัวเลข และเทคโนโลยีทางการตลาดในการคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค
1.3 นักศึกษาสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจทางการตลาด
1.4 นักศึกษานำความรู้ไปประยุทต์ใช้ในการตัดสินใจและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามสถานการณ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
1.2 นักศึกษาสามารถใช้สถิติ ตัวเลข และเทคโนโลยีทางการตลาดในการคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค
1.3 นักศึกษาสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจทางการตลาด
1.4 นักศึกษานำความรู้ไปประยุทต์ใช้ในการตัดสินใจและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามสถานการณ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
2.1 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์แนวโน้ม และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้สถิติ ตัวเลข และเทคโนโลยีทางการตลาดในการคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค
2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจทางการตลาด
2.4 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุทต์ใช้ในการตัดสินใจและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามสถานการณ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้สถิติ ตัวเลข และเทคโนโลยีทางการตลาดในการคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค
2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ข้อมูลในการตัดสินใจทางการตลาด
2.4 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุทต์ใช้ในการตัดสินใจและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามสถานการณ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์แนวโน้ม และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล การใช้สถิติ ตัวเลข และเทคโนโลยีทางการตลาดในการคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจทางการตลาด เพื่อยกระดับความสามารถในการตัดสินใจและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันตามสถานการณ์ทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
Data collection, data analysis, trend analysis, and data relation linkages; application of statistics, numbers and marketing technologies in predicting consumer behaviors; data usages of marketing decisione making for promoting decision making capability level and creating competitive advantage according to changing market situations
Data collection, data analysis, trend analysis, and data relation linkages; application of statistics, numbers and marketing technologies in predicting consumer behaviors; data usages of marketing decisione making for promoting decision making capability level and creating competitive advantage according to changing market situations
ให้คำปรึกษาตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1, 2.1.2 | การทดสอบ - การทดสอบกลางภาค - การทดสอบปลายภาค | 9 - 17 | 25% - 25% |
2 | 3.1.2, 4.1.2, 5.1.3 | ผลการฝึกปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย - ผลงานการฝึกปฏิบัติ - งานที่มอบหมาย และการส่งงานตามกำหนดเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
3 | 1.1.2 | การเข้าชั้นเรียน - เจตคติ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ