การวางแผนภาษีอากร
Tax Planning
เพื่อศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายไม่ขัดต่อจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงความรับผิดชอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้ (ตาม Domain of Leaning)
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายไม่ขัดต่อจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษา
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1 (1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1 (1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านความรู้
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านทักษะทางปัญญา
ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับการพัฒนา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับการพัฒนา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อ 4 (3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อ 4 (3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
-
วิธีการสอน
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนหลัก
เอกสารประกอบการสอน
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน ที่สำคัญ
กรมสรรพากร. 2558. ความรู้เรื่องภาษี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/publish/286. 0.html. (2 มกราคม 2559)
ประมวลรัษฎากร ฉบับ ธิตินันท์ ปี 2558. 2558. กรุงเทพฯ: หจก.ธรรกมลการพิมพ์.
ไพรัช พรพันธ์เดชวิทยา. 2554. การบัญชีภาษีอากร. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมนิติเพรส จำกัด.
วนิดา กุลสุ. 2553. การบัญชีภาษีอากร. น่าน: วิทยาลัยเทคนิคน่าน.
เวก ศิริพิมลวาทิน. 2557. ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สถาบันติว Home Ac & จิรศักดิ์ (อ.น้อย). 2558. เอกสารวิชา ประมวลฯ ภาษีเงินได้นิติบุคคล. กรุงเทพฯ:
สมคิด บางโม. 2557. การภาษีอากรธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด.
สุเมธ ศิริคุณโชติ และคณะ. 2558. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2558. กรุงเทพฯ: หจก. เรือนแก้ว
การพิมพ์.
เอกสารประกอบการสอน
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน ที่สำคัญ
กรมสรรพากร. 2558. ความรู้เรื่องภาษี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/publish/286. 0.html. (2 มกราคม 2559)
ประมวลรัษฎากร ฉบับ ธิตินันท์ ปี 2558. 2558. กรุงเทพฯ: หจก.ธรรกมลการพิมพ์.
ไพรัช พรพันธ์เดชวิทยา. 2554. การบัญชีภาษีอากร. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมนิติเพรส จำกัด.
วนิดา กุลสุ. 2553. การบัญชีภาษีอากร. น่าน: วิทยาลัยเทคนิคน่าน.
เวก ศิริพิมลวาทิน. 2557. ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สถาบันติว Home Ac & จิรศักดิ์ (อ.น้อย). 2558. เอกสารวิชา ประมวลฯ ภาษีเงินได้นิติบุคคล. กรุงเทพฯ:
สมคิด บางโม. 2557. การภาษีอากรธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด.
สุเมธ ศิริคุณโชติ และคณะ. 2558. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2558. กรุงเทพฯ: หจก. เรือนแก้ว
การพิมพ์.
1. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้เรียนหรือ
1.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้เรียนหรือ
1.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา แก้ไข
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา แก้ไข
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา แก้ไข
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา แก้ไข
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร