แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ
Photogrammetry
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิวัฒนาการของการสำรวจด้วยภาพถ่าย กล้องและฟิล์มถ่ายภาพทางอากาศได้ 2.เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับเรขาคณิตของภาพถ่าย การวางแผนการบินถ่ายภาพ 3.เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายภาพออร์โธ และนำเทคโนโลยีเกี่ยวกับภาพออร์โธไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนด้านการใช้ที่ดินได้อย่างมีถูกต้อง 4.เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.สามารถสื่อสารและนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ต่อสังคมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจบทเรียน สามารถนำเทคโนโลยีด้านโฟโตแกรมเมตรี ไปใช้ในการทำโครงการต่าง ๆ เพื่ออธิบายถึงลักษณะการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในภาวะปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
วิวัฒนาการและประโยชน์ของการสำรวจด้วยภาพถ่าย การวางแผนการบินถ่ายภาพ กล้องและการถ่ายภาพทางอากาศ เรขาคณิตของภาพถ่าย การสามเหลี่ยมจากภาพถ่ายทางอากาศ การมองภาพทรวดทรงและแพรัลแลกซ์ โมเสก เครื่องวาดจากภาพทรวดทรงและภาพออร์โธ การถ่ายภาพจากอากาศยานไร้คนชับ การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายทางอากาศกับงานวิศวกรรมโยธา
1.มีจิตสำนึกทางจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2.ปลูกฝังความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3.เข้าใจในคุณค่าความเป็นมนุษย์และเคารพสิทธิของผู้อื่น 4.มีภาวะความเป็นผู้นำ ผู้ตาม และแยกแยะชั่วดีได้
1.การเข้าเรียน 2.การแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย 3.สอดแทรกเรื่องคุณธรรม 4.การช่วยเหลือกันในห้องเรียน
1.เช็คชื่อก่อนเข้าชั่วโมงเรียน 2.มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มแล้วสังเกตุพฤติกรรม
1.มีความรู้ความเข้าใจในความหมาย หลักการ แนวคิดเกี่ยวกับโฟโตแกรมเมตรี 2.สามารถคำนวณเรขาคณิตของภาพถ่าย การวางแผนการบินถ่ายภาพได้ 3.สามารถพัฒนาตนเองให้มีความรู้โดยอธิบายปรากฎการ์เชิงพื้นที่โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศได้ 4.สามารถประยุกต์ใช้ภ่ายถ่ายทางอากาศในงานวิศวกรรมโยธาได้
1.ใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย ประกอบสื่อการสอน 2.มีกระบวนการสืบค้นข้อมูลประกอบการเรียน 3.มีการฝึกใช้โปรแกรมด้านระบบภูมิสารสนเทศศาสตร์ เพื่อความเข้าใจควบคู่ไปกับภาคทฤษฎี 4. ฝึกประมวลผลภ่ายถ่ายทางอากาศ
1.ทำข้อสอบ 2.ทำรายงาน
1.สามารถใช้วิธีการคิด และประมวลปัญหาต่าง ๆ ทางพื้นที่อย่างเป็นระบบ 2.สามารถเชื่อมโยงมิติทางภูมิศาสตร์ได้อย่างหลากหลายในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ 3.สามารถบูรณาการความรู้ทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์ แก้ไขปัญหาการจัดการพื้นที่ ได้อย่างสร้างสรรค์
1.ฝึกวิเคราะห์ และติดตามปัญหาเชิงพื้นที่จากกรณีศึกษา 2.จัดทำสื่อการสอนที่มีเนื้อหาเป็นปัจจุบัน
1.ทำข้อสอบ 2.ทำรายงาน
มีการถ่ายทอดความรู้และช่วยเหลือกันระหว่างคนในกลุ่ม
แบ่งกลุ่มให้ทำรายงาน
จากรายงานที่ส่ง
รู้จักการสืบค้นข้อมูลในวิชาเรียนเพิ่มเติม
แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
สามารถนำความรู้ด้านแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างงานที่ใช้จริง
2. นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาสอดแทรก
3. จัดอบรมหรือศึกษาเพิ่มเติม
4. มอบหมายให้นักศึกษษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษาะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะพิสัย | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ฝึกให้มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา สอดแทรกคุณธรรม | บรรยายและยกตัวอย่าง | ทำรายงานโดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมา | แบ่งกลุ่มทำงาน | สืบค้นข้อมูลวิชาเรียนเพิ่มเติม | ถูกต้องของรายงาน |
1 | ENGCV715 | แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1 ถึง 4 | สอบกลางภาค | 8 | 20% |
2 | หน่วยที่ 4-8 | สอบปายภาค | 17 | 20% |
3 | การปฏิบัติงานและประยุกต์ใช้งาน | รายงานผลในชั้นเรียน | 16 | 50% |
4 | การรู้จักเวลา รับผิดชอบ มีคุณธรรม | จิตพิสัย | 1-17 | 10% |
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
ไพศาล สันติธรรมนนท์. ๒๕๕๕. การรังวัดด้วยภาพดิจิทัล. พิมพ์ครั้งที่
2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. Ghosh, Sanjib K. 1988. Analytical Photogrammetry. 2nd ed.
4. New york: Pergamon Press. Lillesand, Thomas M. and Kiefer, Ralph W. 1994. Remote Sensing and Image Interpretation. New York: John Wiley & Sons.
5.เอกสารประกอบการสอนวิชาแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ อ.พีรภพ โพธิ์พงษ์
5.เอกสารประกอบการสอนวิชาแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ อ.พีรภพ โพธิ์พงษ์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนและผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ