การวิจัยการตลาด
Marketing Research
1.1 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจกลยุทธ์กิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและเทคนิคของกิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผน ปฏิบัติ ประเมินผล และแก้ปัญหาของการจัดดำเนินงานกิจกรรมการตลาดได้
1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และหลักทฤษฎีด้านการตลาดและการสื่อสารการตลาดมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและเทคนิคของกิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถวางแผน ปฏิบัติ ประเมินผล และแก้ปัญหาของการจัดดำเนินงานกิจกรรมการตลาดได้
1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้และหลักทฤษฎีด้านการตลาดและการสื่อสารการตลาดมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกลยุทธ์กิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและเทคนิคของกิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวางแผน ปฏิบัติ ประเมินผล และแก้ปัญหาของการจัดดำเนินงานกิจกรรมการตลาดได้
2.4 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้และหลักทฤษฎีด้านการตลาดและการสื่อสารการตลาดมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและเทคนิคของกิจกรรมการตลาด (Event Marketing)
2.3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวางแผน ปฏิบัติ ประเมินผล และแก้ปัญหาของการจัดดำเนินงานกิจกรรมการตลาดได้
2.4 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้และหลักทฤษฎีด้านการตลาดและการสื่อสารการตลาดมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการวิจัยการตลาดในการตัดสินใจทางธุรกิจ กระบวนการวิจัย เน้นการฝึกปฏิบัติงานโครงการวิจัยที่เป็นไปตามหลัก ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการสร้างประสบการณ์จริงในการวิจัย
- อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษานักศึกษาเป็นรายกลุ่มจำนวน 18 กลุ่ม อย่างน้อยกลุ่มละ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
- อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน Facebook โดยการสร้างกลุ่มเฉพาะรายวิชาเพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะกลุ่ม
- อาจารย์ประจำรายวิชาจัดอาจารย์ที่ปรึกษาหลักและที่ปรึกษาร่วมคอยให้คำปรึกษานักศึกษาในการจัดทำโครงงานวิจัยตลาดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
- อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน Facebook โดยการสร้างกลุ่มเฉพาะรายวิชาเพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะกลุ่ม
- อาจารย์ประจำรายวิชาจัดอาจารย์ที่ปรึกษาหลักและที่ปรึกษาร่วมคอยให้คำปรึกษานักศึกษาในการจัดทำโครงงานวิจัยตลาดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ü
2. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
ü
3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
ü
4. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี
ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
5. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน
ü
6. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
ü
7. อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1) การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ü
2) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
ü
3) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ü
4) การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
5) ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
6) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
ü
7) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ü
3. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
ü
4. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
ü
5. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
ü
6. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
ü
3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
ü
4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
ü
5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
ü
6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
ü
7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
2. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา
3. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม
4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ü
5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
ü
6. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ü
7. จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
ü
2. การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
ü
3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
ü
4. ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
5. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
ü
6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
ü
7. ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
ü
8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ü
2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ
การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป ü 4. มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง ü 5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา ü 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป ü 4. มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง ü 5. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา ü 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
ü
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
ü
พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
ü
พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
ü
สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
ü
สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน
ข้อ
ü
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ü
2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
ü
3. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ü
4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ü
5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
ü
6. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียด วิธีการประเมินผล
ข้อ
ü
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
ü
2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
ü
3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
4. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands - on) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 |
1 | BBABA609 | การวิจัยการตลาด |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2, 1.4, 1.6, 1.10, 2.2, 2.4, 3.2, 3.5,4.3 | การสอบกลางภาค | 8 | 20 |
2 | 6.3,6.4,6.5,7.2,7.3, 8.2,8.4,8.6,9.2 | การสอบปลายภาค | 18 | 20 |
3 | 1.1,2.2,2.3,2.4,2.5,3.2,3.3,3.4,3.5,4.4 | สอบ Defend หัวข้อวิจัยตลาด | 7 | 20 |
4 | การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - เข้าเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ | สังเกตุและเช็คชื่อจากการเข้าชั้นเรียนและเข้าพบเพื่อปรึกษางานวิจัยวิจัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10 |
5 | 6.4,7.3,8.2,8.4,8.6,11.2 | สอบ Oral วิจัยตลาด | 17 | 20 |
6 | จิตพิสัย | การเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา - การติดตามงาน - ความสม่ำเสมอในการเข้าพบ - การรายงานความคืบหน้าของงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 |
- วุฒิ สุขเจริญ. วิจัยการตลาด. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2018
- ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี. กรุงเทพฯ
- ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี. กรุงเทพฯ
นิตยสาร Marketeer
นิตยสาร BrandAge
นิตยสาร BrandAge
- หนังสืองานวิจัยเล่มแดง (ตัวอย่างของรุ่นพี่ที่เคยทำมาก่อน)
การประเมนผลของรายวิชาโดยนักศึกษามีกลยุทธ์ดังนี้
การสนทนาเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในขณะที่เข้าพบเพื่อรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย การสังเกตจากพฤติกรรมนักศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนาเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในขณะที่เข้าพบเพื่อรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัย การสังเกตจากพฤติกรรมนักศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
ผลการสอบและผลการเรียนของนักศึกษา การสนทนาสอบถามจากนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบและผลการเรียนของนักศึกษา การสนทนาสอบถามจากนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
การพัฒนาปรับปรุงเนื้อหารายวิชา การพัฒนารูปแบบสื่อการสอน สื่อและอุปกรณ์การสอน รวมถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมการมอบหมายงานต่าง ๆ การทำวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาปรับปรุงเนื้อหารายวิชา การพัฒนารูปแบบสื่อการสอน สื่อและอุปกรณ์การสอน รวมถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมการมอบหมายงานต่าง ๆ การทำวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชาจากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงการพิจารณาการสอบหัวข้อวิจัยตลาดและผลการสอบปากเปล่าปิดเล่มโครงงานการวิจัยตลาด มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานเล่มโครงงานการวิจัยตลาดโดยอาจารย์ท่านอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประหลักสูตรหรือคณะกรรมสอบโครงงานวิจัยตลาด มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงานรูปเล่มโครงงานวิจัยตลาด วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานเล่มโครงงานการวิจัยตลาดโดยอาจารย์ท่านอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประหลักสูตรหรือคณะกรรมสอบโครงงานวิจัยตลาด มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงานรูปเล่มโครงงานวิจัยตลาด วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
นำข้อเสนอแนะของที่นักศึกษาได้เสนอแนะมาปรับปรุง ในส่วนที่ผิดพลาดให้ดีขึ้น ภาพรวม และในแต่ละรายวิชา กรณีที่พบปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดำเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆ ได้ทันทีและปรับปรุงรายวิชาทุก ๆ 5ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4