วิศวกรรมฐานข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่เบื้องต้น

Introduction to Database and Big Data Engineering

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล สร้างฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรมที่เหมาะสม และประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล สู่การพัฒนาบัณฑิต ที่มีศักยภาพอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูลสร้างฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรมที่เหมาะสม  การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลต่อสถานการณ์โลก และสามารถ ประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อลดต้นทุนด้านต่างๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ แนะนำเกี่ยวกับฐานข้อมูลสมัยใหม่ ข้อมูลขนาดใหญ่ และการใช้งานภาษา SQL/NoSQL/NewSQL สตอร์โพรซีเดอร์ และ ทริกเกอร์ การออกแบบและสร้างฐานข้อมูล การทำความสะอาดข้อมูลและการนำข้อมูลเข้า การสำรองข้อมูลและการคืนสภาพข้อมูล การจัดการทรานแซคชันและการทำงานพร้อมกัน การประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ และขยายขีดความสามารถ ความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการเรียนรู้ของเครื่อง รวมถึงการประยุกต์ใช้งานสำหรับอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
 1. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
3. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
4. เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
1. ให้ความสำคัญในด้านวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
2. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
3. สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
4. การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.1   การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 1.3.2  ประเมินจาก ปริมาณการทุจริตในการสอบ 1.3.3   พิจารณาผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 1.3.4   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตากฎระเบียบข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1   เข้าใจ และวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านฐานข้อมูล
2.1.2   สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านฐานข้อมูลได้
2.1.3   เข้าใจและวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเช่นหลักเศรษฐศาสตร์
2.2.1  ใช้รูปแบบในการสอนที่หลากหลายโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง
2.2.2   มอบหมายให้ทำรายงานการประยุกต์ใช้ระบบฐานข้อมูล และนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
2.2.3   จัดทำแบบจำลองศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
2.3.1   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
2.3.2   ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและรายงาน
2.3.3   สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าเรียน
3.1.1มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมาตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2 สามารถแก้ปัญหาทางฐานข้อมูลได้โดยนำหลักการต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.1.3   มีความใฝ่หาความรู้
3.2.1 ฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาโดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา
3.2.2   ฝึกการทำโครงงานในด้านการแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
3.2.3   มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติจริง เพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
3.3.1   สอบกลางภาค ปลายภาค และทดสอบย่อย โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้งานระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลการประเมินจากรายงานและ การนำเสนอผลงานของนักศึกษา
3.3.3   วัดผลการประเมินจากโครงงานที่นักศึกษาจัดทำขึ้น
3.4.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
3.4.2   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.4.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
3.4.4   มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
3.4.5   มีภาวะผู้นำ
4.2.1   ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.2   แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 4.2.3   ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.4   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
4.2.5   ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
4.3.1  สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
4.3.4   สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
4.3.5   สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
3.5.1มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการอธิบายหลักการและสถานการณ์ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
5.3มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในอันที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ตลอดจนนำเสนอข้อมูลโดยใช้คณิตศาสตร์หรือสถิติ
5.4ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.4.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
6.4.2   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
6.4.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
6.4.4   มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
6.4.5   มีภาวะผู้นำ
6.2.1   ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6.2.2   แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
6.2.3   ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
6.2.4   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
6.2.5   ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
6.3.1  สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
6.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
6.3.3   การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
6.3.4   สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
6.3.5   สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 2 3 4 1 3 4 5 6 1 2 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE111 วิศวกรรมฐานข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล , จำลอง ครูอุตสาหะ(2542) คัมภีร์ระบบฐานข้อมูล 2. ดวงแก้ว  สวามิภักดิ์ , ระบบฐานข้อมูล , พิมพ์ที่ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) , พ.ศ. 2543
3. ณัฐพล อุ่นยัง. เทคนิคการใช้ Microsoft Access ฉบับ Programing, เอส.พี.ซี บุ๊คส์ 4. ณัฐพล อุ่นยัง. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 
5. รศ. ดร. วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์, ระบบฐานข้อมูล, สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย - ญี่ปุ่น
6. ศิริลักษณ์ โรจรกิจอำนวย. การออกแบบและบริหารข้อมูล , ดวงกมลสมัย จำกัด, พ.ศ. 2542
7. ศุภชัย สมพานิช. Database Programming ด้วย Visual Basic ฉบับมืออาชีพ, info press
8. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ , การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล, พิมพ์ที่ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด
9. Paolo Atzeni, Stefano Ceri, Database Systems Concepts, Languages and Architectures, The McGraw – Hill Companies 10. Ramez Elmasri, FUNDAMETALS OF DATABASE SYSTEMS, Pearson Education 11.. Peter Rob. Elie seaman, Data bases Design, Development & Deployment, The McGraw – Hill
12. Microsoft Corporation, Microsoft SQL SERVER (Transact – SQL Reference) 13. Ramakrishnan Gehrke, Database Management Systems,  McGraw – Hill
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ