การบัญชีบริหาร
Managerial Accounting
เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติ แนวคิดทางการบัญชีบริหาร การใช้ต้นทุนเพื่อการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร การบริหารต้นทุนฐานกิจกรรม งบประมาณ ต้นทุนเต็มและต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ การจัดทำรายงานแยกตามส่วนงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน การใช้โปรแกรมช่วยวิเคราะห์ การนำเสนอข้อมูลสำหรับฝ่ายบริหาร
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีทางการบัญชี
เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติ แนวคิดทางการบัญชีบริหาร การใช้ต้นทุนเพื่อการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจ การวิเคราะห์ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร การบริหารต้นทุนฐานกิจกรรม งบประมาณ ต้นทุนเต็มและต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ การจัดทำรายงานแยกตามส่วนงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน การใช้โปรแกรมช่วยวิเคราะห์ การนำเสนอข้อมูลสำหรับฝ่ายบริหาร
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
1.มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน
ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา
ประเมินจากการตรงต่อเวลาของการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงต่างๆ
1.มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชีเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2.มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3.มีความรู้เเละความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
2.มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3.มีความรู้เเละความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย
การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ
ให้ทำแบบฝึกหัด
มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา
ประเมินจากงานที่นำเสนอ
ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
1.มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2.มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3.มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4.มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
2.มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3.มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4.มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
1.มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ วัฒนธรรมองค์กร
3.มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
3.มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความสามารถในการวิเคราะหืเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผน การควบคุม การประเมินผล และการราย
งานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2.มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
3.มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
งานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2.มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
3.มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
จัดการเรียนการสอนโดยให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล เรียนรู้จากกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะปัญญา | 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 1 | 2 | 3 | 1. | 2. | 3. | 4. | 1 | 3 | 1. | 2. | 3 |
1 | BACAC132 | การบัญชีบริหาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (3) | - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 4 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 6 - 9 | 9,17 | 40 40 |
2 | ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (3) | - ประเมินจากการตรงต่อเวลาฯ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20 |
เอกสารประกอบการสอน การบัญชีบริหาร โดย ผศ.สมบูรณ์ กุมาร
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้
การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้
สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้
ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ