โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
Data Structures and Algorithms
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้งานและประยุกต์ใช้โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี กับงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
เพื่อพัฒนารายวิชาให้สอดคล้องกับโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธีในปัจจุบัน
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติตามทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ปรับคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมตามมาตรฐานองค์ความรู้ของ สกอ. และมาตรฐานของ ACM/IEEE สำหรับหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ การจัดเก็บข้อมูลจำนวนเต็ม ทศนิยมและตัวอักษร ความหมายและความ สำคัญของโครงสร้างข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น สะแตก คิว ลิงค์ลิสต์ โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เป็นเชิงเส้น ทรี บีทรี กราฟ ขั้นตอนวิธีสำหรับการประมวล ผลโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ การเรียงลำดับ การค้นหาข้อมูล การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ และเคารพกฎระเบียบ ตามคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ
ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี
ของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.8 พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมและจริยธรรม ตามแนวทางของศีล 5 อิทธิบาท 4 และพรหมวิหาร4
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ
ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี
ของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.8 พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมและจริยธรรม ตามแนวทางของศีล 5 อิทธิบาท 4 และพรหมวิหาร4
2..1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของสถาบันฯ นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการยกย่องนักศึกษาที่ทำดี เสียสละ ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม
1.2.2 บรรยายความรู้ที่เกี่ยวข้องกับด้านคุณธรรม และจริยธรรม
1.2.3 ถาม-ตอบ
1.2.2 บรรยายความรู้ที่เกี่ยวข้องกับด้านคุณธรรม และจริยธรรม
1.2.3 ถาม-ตอบ
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
พฤติกรรมของนักศึกษาและผลงาน
การจัดเก็บข้อมูลจำนวนเต็ม ทศนิยมและตัวอักษร ความหมายและความ สำคัญของโครงสร้างข้อมูล โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น สะแตก คิว ลิงค์ลิสต์ โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เป็นเชิงเส้น ทรี บีทรี กราฟ ขั้นตอนวิธีสำหรับการประมวล ผลโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ การเรียงลำดับ การค้นหาข้อมูล การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี
2.2.1 บรรยาย
2.2.2 ถาม-ตอบ
2.2.3. ทำแบบฝึกหัด
2.2.4. ลงมือปฏิบัติตามทฤษฎี
2.2.2 ถาม-ตอบ
2.2.3. ทำแบบฝึกหัด
2.2.4. ลงมือปฏิบัติตามทฤษฎี
2.3.1 สอบภาคทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากผลลัพธ์การลงมือปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากผลลัพธ์การลงมือปฏิบัติ
3.1.1. การคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
3.1.2. การคิดสร้างสรรค์ เชิงบวก บนพื้นฐานของความเป็นจริง
3.1.3. ความสามารถในการเผชิญหน้าและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม
3.1.2. การคิดสร้างสรรค์ เชิงบวก บนพื้นฐานของความเป็นจริง
3.1.3. ความสามารถในการเผชิญหน้าและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม
3.2.1 บรรยาย
3.2.2 ถาม-ตอบ
3.2.3. ทำแบบฝึกหัด
3.2.4. ลงมือปฏิบัติตามทฤษฎี
3.2.2 ถาม-ตอบ
3.2.3. ทำแบบฝึกหัด
3.2.4. ลงมือปฏิบัติตามทฤษฎี
3.3.1 สอบภาคทฤษฎี
3.3.2 ประเมินจากผลลัพธ์การลงมือปฏิบัติ
3.3.2 ประเมินจากผลลัพธ์การลงมือปฏิบัติ
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.2.1 บรรยาย
4.2.2 ถาม-ตอบ
4.2.2 ถาม-ตอบ
สังเกต พฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการแก้ไขปัญหา ผ่านการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.2 ทักษะในการนำเสนอ โดยมีการประยุกต์ใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม
5.1.2 ทักษะในการนำเสนอ โดยมีการประยุกต์ใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม
5.2.1 แสดงวิธีการแก้ปัญหาทางโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ผ่านสื่อการสอน
5.2.2 มีการถามตอบระหว่างการสอน
5.2.2 มีการถามตอบระหว่างการสอน
ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติเขียนโปแกรมตามหัวข้อการสอน
เขียนโปรแกรมตัวอย่างตามหัวข้อต่างๆให้นักศึกษาและให้นักศึกษาทำตาม
สังเกตุจากการอธิบายการทำงานของโปรแกรม และผลการปรับปรุงโปรแกรมตามเงื่อนไข
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1, 2.2, 2.4, 3.1,3.2,3.3 | สอบกลางภาค | 9 | 25% |
2 | 2.1, 2.2, 2.4, 3.1,3.2,3.3 | สอบปลายภาค | 17 | 25% |
3 | 2.1, 2.2, 2.4, 3.1,3.2,3.3 | ส่งงานภาคปฏิบัติ | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
4 | 1.3 | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย กริยา มารยาท | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
นิสาชล โตอดิเทพย์. โครงสร้างข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นดิ้ง เฮ้าส์, 2541. ชิดชนก เหลือสินทรัพย์. Analysis & Design of Algorithms. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ดี แอล เอส , 2543. สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล. การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท ด่านสุธาทิพย์การพิมพ์ , 2544.
สุชาย ธนวเสถียร. โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอช.เอ็น.กรุ๊ปจำกัด, 2540. อุดม จีนประดับ และสมคิด เรืองนะสกุลไทย.ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์ โครงสร้างข้อมูล .แปลจาก
Theory and problems of data structures.ของ Seymour Lipschutz.กรุงเทพมหานคร :
แมคกรอ- ฮิลอินเตอร์เนชั่นแนล , 2543.
Ford william. Data structures with c++ . USA : prentice – hall , 1995. Shaffer clifford . A practical introduction to data structures and algorithm analysis . USA : prentice – hall , 1992. Weiss Mark Allen. Data structures and algorithm analysis. USA : publishing Company , 1992. http://www.uni.net.th/~07_2543/lesson01, พฤษภาคม 2547 http://sot.swu.ac.th/CP341/pdf.htm, พฤษภาคม 2547.
นิสาชล โตอดิเทพย์. โครงสร้างข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นดิ้ง เฮ้าส์, 2541. ชิดชนก เหลือสินทรัพย์. Analysis & Design of Algorithms. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ดี แอล เอส , 2543. สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล. การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท ด่านสุธาทิพย์การพิมพ์ , 2544.
สุชาย ธนวเสถียร. โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอช.เอ็น.กรุ๊ปจำกัด, 2540. อุดม จีนประดับ และสมคิด เรืองนะสกุลไทย.ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์ โครงสร้างข้อมูล .แปลจาก
Theory and problems of data structures.ของ Seymour Lipschutz.กรุงเทพมหานคร :
แมคกรอ- ฮิลอินเตอร์เนชั่นแนล , 2543.
Ford william. Data structures with c++ . USA : prentice – hall , 1995. Shaffer clifford . A practical introduction to data structures and algorithm analysis . USA : prentice – hall , 1992. Weiss Mark Allen. Data structures and algorithm analysis. USA : publishing Company , 1992. http://www.uni.net.th/~07_2543/lesson01, พฤษภาคม 2547 http://sot.swu.ac.th/CP341/pdf.htm, พฤษภาคม 2547.
ทองคำ สมเพราะ, เอกสารประกอบการสอนทฤษฎีโครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
ทองคำ สมเพราะ,"โครงสร้างข้อมูลและการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี" พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น, 2561 227 หน้า.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านสื่อโซเซียล ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านสื่อโซเซียล ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ความตั้งใจของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์ความตั้งใจของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ