ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน
Chinese for Everyday Use
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของภาษาจีน สามารถใช้ประโยคพื้นฐานในการแนะนำตัว และถามตอบเกี่ยวกับข้อมูลในชีวิตประจำวันได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานของภาษาจีน ด้านไวยากรณ์ ตัวอักษรภาษาจีน และสามารถพูดประโยคบอกเล่า ปฏิเสธ คำถาม การทักทาย แบบสั้นๆ
ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และการออกเสียงในระบบสัทอักษรภาษาจีน คำศัพท์ และประโยคพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
(3) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(4) มีจิตสาธารณะในการทำคุณประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม
(5) มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(1) สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
(2) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(3) สร้างวัฒนธรรมองค์กรโดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามี ระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและชุมชน เพื่อ เรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) การสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิต สาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) บันทึกและติดตามการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(3) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(4) ประเมินผลงานโดยตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการ
(1) จดจำ และออกเสียงภาษาอังกฤษและ/หรือภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้อง
(2) วิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของคำ วลี และประโยคได้
(3) เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(4) แปลความภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
(5) สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง
(6) ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่าง สร้างสรรค์
7) ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบท วัฒนธรรมข้ามชาติได
(1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
(2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และสถานการณ์จำลอง
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วม ชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
(5) ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้และ การเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ
(6) สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้านทักษะและความสามารถ ภาษาอังกฤษ ตลอดจนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ
(1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
(2) ทดสอบย่อยและการสอบปฏิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา
(3) การนำเสนอผลงานและการเขียนรายงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม
(4) การสังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล
(3) มีทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษามาวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และสามารถ แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
(1) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
(2) การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด
(3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาตามแนว Constructivism (การสร้างความรู้ด้วย ตนเอง) เช่น การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน (Task-based learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) การเรียนรู้โดยโครงการเป็นฐาน (Project-based learning) และ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking)
(4) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน
(1) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและผลการปฏิบัติของนักศึกษา
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(3) จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(5) การประเมินตนเองโดยการสะท้อนคิดของผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือคณาจารย์
(1) มีความสามารถทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(2) ประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อนำมาใช้ในการทำงานของ ตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้าม วัฒนธรรม
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของ วัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา
(2) จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในรายวิชา มุ่งเน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Collabolative learning) โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
(3) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทั้งภายในมหาวิทยาลัยและบริการชุมชน เพื่อเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ทักษะสัมพันธ์ ภาวะผู้นำ ให้เกียรติ ตระหนักถึงหน้าที่และสิทธิของมนุษย์
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมนานาชาต
(1) การสังเกตพฤติกรรมและบทบาทของนักศึกษาในกระบวนการกลุ่ม
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้
(3) การสะท้อนคิด (Reflection) ต่อกระบวนการกลุ่ม
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน
(1) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ อย่างถูกต้อง
(2) นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติและวัฒนธรรมนานาชาติ
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
(2) มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษา รวบรวมแ วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนการนำเสนองานและการทำรายงาน
(3) ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้าน ภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) แนะนำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และนอกห้องเรียนเพื่อเสริมทักษะภาษา ตัวเลข และ เทคโนดลยีสารสนเทศ ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา
(5) จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
(1) การประเมินผลงาน รายงาน และการนำเสนองาน
(2) สอบย่อยตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
(3) กลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
(4) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์
(1) ปรับตัวเข้าสู่สังคมการทำงานในบริบทข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
(2) ปฏิบัติงานโดยยึดจรรยาบรรณวิชาชีพ
(3) ประยุกต์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการปฏิบัติงานในระดับสากล
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มในการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง หน้าที่ ความรับผิดชอบ คุณสมบัติและแนวปฏิบัติที่ดีในจรรยาบรรณวิชาชีพในรายวิชา
(2) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
(3) จัดอบรม สัมมนา และกิจกรรมเตรียมความพร้อมในการทำงาน ก่อนนักศึกษาเข้า ร่วมสหกิจศึกษาและฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ
(4) แนะนำแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองออนไลน์
(1) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(2) ประเมินผลงานโดยอาจารย์นิเทศ
(3) ประเมินผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ
(4) การสะท้อนคิดและการประเมินตนเอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | BOAEC167 | ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทดสอบย่อย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% | |
2 | สอบกลางภาค, สอบปลายภาค | 10 18 | 20%, 30% | |
3 | การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% | |
4 | การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% | |
5 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
หนังสือคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ
แบบฝึกหัดคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ
แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ