การออกแบบภาพยนตร์โฆษณา
Television Commercial Design
1. เพื่อให้นักศึกษาซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมรอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยงกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
4. เพื่อให้นักศึกษามีความสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
5. เพื่อให้นักศึกษามีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานและสร้างสรรค์ได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยงกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
4. เพื่อให้นักศึกษามีความสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
5. เพื่อให้นักศึกษามีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานและสร้างสรรค์ได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1. เพื่อผลิตภาพยนตร์โฆษณาบนโลกออนไลน์และออฟไลน์
2. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาปฏิบัติงานจริงและส่งเข้าประกวดในสถานการณ์โลกยุคใหม่
2. เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาปฏิบัติงานจริงและส่งเข้าประกวดในสถานการณ์โลกยุคใหม่
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการคิดวิเคราะห์สินค้าหรือบริการ การวางแผนระบบงานภาพยนตร์โฆษณา และไวรอลวิดีโอ ความคิดสร้างสรรค์โฆษณา การออกแบบจัดทำสตอรี่บอร์ดเสนองานโฆษณา เทคนิคการนำเสนองานโฆษณา เทคนิคความรู้ทางด้านการถ่ายทำ การกำกับการแสดง การกำกับภาพยนตร์ การออกแบบทางภาพยนตร์ การออกแบบแสงเสียง การตัดต่อและทำเทคนิคพิเศษ เพื่อการสื่อสารตามวัตถุประสงค์และสามารถจูงใจผู้บริโภค
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- สอดแทรกความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรมและจริยธรรมในการออกภาพยนตร์โฆษณา
- รู้จัดระเบียบวินัย การตรงต่อเวลาในการออกภาพยนตร์โฆษณา
- มีจรรยาบรรณในวิชาชีพการออกภาพยนตร์โฆษณาไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
- รู้จัดระเบียบวินัย การตรงต่อเวลาในการออกภาพยนตร์โฆษณา
- มีจรรยาบรรณในวิชาชีพการออกภาพยนตร์โฆษณาไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายกลุ่ม
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายกลุ่ม
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- ทำการค้นคว้าลักษณะงานออกแบบภาพยนตร์โฆษณา
- ทำการค้นคว้าเข้าในการออกแบบภาพยนตร์โฆษณาตามมาตรฐาน หรือทำการส่งประกวดภาพยนตร์โฆษณา
- ทำการค้นคว้าเข้าในการออกแบบภาพยนตร์โฆษณาตามมาตรฐาน หรือทำการส่งประกวดภาพยนตร์โฆษณา
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติรายบุคคล
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
- ประเมินจากการสอบทฤษฎ๊
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
- ประเมินจากการสอบทฤษฎ๊
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
- มีความสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- มีความสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างถูกต้องไม่บิดเบือนในการออกแบบภาพยนตร์โฆษณา
- มีการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์โฆษณารูปแบบต่างๆ
- มีการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์โฆษณารูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล
- ประเมินจากการนำเสนอแนวความคิดสร้างสรรค์ในงานภาพยนตร์โฆษณา
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- ประเมินจากการนำเสนอแนวความคิดสร้างสรรค์ในงานภาพยนตร์โฆษณา
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- ปฏิบัติงานกลุ่มการกำกับบุคลากรในการผลิตงานภาพยนตร์โฆษณา
- การแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติกลุ่ม โดยการสังเกตุหรือรายงานผล
- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบภาพยนตร์โฆษณาประยุกต์ให้เข้ากับเทคโนโลยีปัจจุบัน
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม
- ประเมินจากการนำเสนอ
- ประเมินจากการนำเสนอ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบภาพยนตร์โฆษณาจากลักษณะงานจำลอง
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบภาพยนตร์โฆษณาแบบสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวทางของตนเอง
- ทำการปฏิบัติงานออกแบบภาพยนตร์โฆษณาแบบสร้างสรรค์ รูปแบบและแนวทางของตนเอง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติกลุ่ม
- ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะพิสัย | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BAACD131 | การออกแบบภาพยนตร์โฆษณา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (ออนไลน์) | 1(1),3(1) (4),4(1),5(2),6(2) (3) | 1-15 | 5 |
2 | การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง | 1(1),3(1) (4),4(1),5(2),6(2) (3) | 2-15 | 5 |
3 | ผลงานรายบุคคล (วิเคราะห์สินค้าและผลิตภัณฑ์) | 1(1),2(1) (4),3(1) (4),4(1),5(2),6(2) (3) | 2-4 | 20 |
4 | ผลงานกลุ่ม (การผลิตภาพยนตร์โฆษณา) | 1(1),2(1) (4),3(1) (4),4(1),5(2),6(2) (3) | 5-15 | 40 |
5 | การนำเสนอ (ออนไลน์) | 1(1),2(1) (4),3(1) (4),4(1),5(2),6(2) (3) | 2-15 | 10 |
6 | การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) (ออนไลน์) | 2(1) (4) | 9,17 | 20 |
- เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การออกแบบภาพยนตร์โฆษณา
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.(2553).การคิดเชิงสร้างสรรค์.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย จำกัด. การ์ เรย์โนลด์ส .(2553). พรีเชนเทชั่นเซน กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ขวัญข้าว ๙๔ กัญจนิพัฐ วงศ์สุเมธรต์.(2549). กระบวนการทำงานโฆษณา. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา กัญญา ศิริกุล.(2541).การบริหารกิจการโฆษณา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง กัลยากร วรกุลลัฎฐานีย์ และ พรทิพย์ สัมปัตตะวานิช.(2551). การโฆษณาเบื้องต้น. กรุงเทพ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มนต์ทิวา มหาคุณ และนเรศ มหาคุณ.(2551).สร้างสรรค์สร้างได้. กรุงเทพฯ:บริษัทซีเอ็ด ยูเคชั่น เอ็ดเวิร์ด เดอร์โบโน่ (2553).ทลายกรอบความคิด.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ