ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม

Industrial Safety

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม มาตรฐานและกฎหมายความปลอดภัย 2. นำความรู้ไปใช้จัดการความปลอดภัยในงานอาชีพ ในโรงงาน หรือสถานประกอบการ ให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาความปลอดภัยโดยใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมความปลอดภัย 3. ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ มีความตระหนักถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม มีกิจนิสัยในการทำงาน
เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 25ุ65
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการทำงานการจัดองค์กรด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย การจัดทำมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน การตรวจความปลอดภัย การสอบสวนวิเคราะห์และเขียนรายงานอุบัติเหตุ การคำนวณค่าสถิติอุบัติเหตุ การสร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัย
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม  
1.1 มีวินัยและความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความ มุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ  
1.2 มีน้ำใจ มีจิต อาสา จิตสาธารณะความ รับผิดชอบต่อประโยชน์ส่วนรวม และจิตสำนึกรักท้องถิ่น  
1.3 มีความพอเพียง  
1.4 มีความซื่อสัตย์ ขยัน อดทน กตัญญู  
1.5 สุภาพ อ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
1.6 มีจิตสำนึกและ ตระหนักในการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ  
1.7 เคารพและ ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ขององค์กรและสังคม
- ชี้แจงเกณฑ์ในการประเมิน ของวิชาและการเข้าชั้นเรียน กำหนดงานมอบหมาย
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ระหว่างการเรียนการสอนและ การประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
-ตรวจสอบจำนวนครั้งของการเข้า เรียนและการตรงต่อเวลาเข้าชั้น เรียน
- การส่งงานมอบหมายตรงเวลา
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษามี ความซื่อสัตย์ในการสอบ
2. ด้านความรู้
2.2 มีความรู้ตามหลักการและทฤษฎีในเนื้อหา ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม
2.3 มีความรู้ตามหลักการ ทฤษฎีในส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้านสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์
 2.4 รู้กฎหมาย กฎระเบียบมาตรฐานทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และด้านสาธารณสุข
2.5 รู้เทคนิคและมีทักษะในการใช้เครื่องมือในงานทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้แก่ การประเมิน ความเสี่ยง การชี้บ่งอันตราย การวิเคราะห์แผนงาน การสอบสวนอุบัติเหตุ การเผชิญเหตุฉุกเฉิน การตรวจวัดด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม การตรวจวัดด้านอาชีวเวชศาสตร์
 2.6 ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
- ใช้การสอนเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ได้แก่ การเรียนรู้จาก สถานการณ์จริง จากการ ฝึกงานหรือศึกษาดูงาน การ เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มี ประสบการณ์ตรงมาบรรยาย รวมทั้งให้นักศึกษาค้นคว้า ข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยตนเอง
- การเขียนรายงานและการนำเสนอ
- สอบกลางภาค และปลายภาค
3.1 เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง
3.2 สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและ ตัดสินใจอย่งมีหลักการและ เหตุผล มีวิสัยทัศน์และความคิด สร้างสรรค์
3.3 น าความรู้มา ประยุกต์ใช้ในการทำงาน แก้ไข ปัญหา และปฏิบัติได้อย่าง เหมาะสม
3.4 สามารถค้นหา ข้อเท็จจริง ประเมินและ วิเคราะห์ข้อมูลและ ทำความ เข้าใจได้
3.5 สามารถศึกษา วิเคราะห์ปัญหา และหาแนว ทางแก้ไข
3.6 มีทักษะ ภาคปฏิบัติทางด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
- ใช้การสอนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน ฝึกให้นักศึกษากล้าแสดงออก วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
- การเขียนรายงานและการนำเสนอ
- สอบกลางภาค และปลายภาค
 4.1 มีทักษะการทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรม องค์กรได้
 4.2 ตระหนักถึงสิทธิ ของตนเองและผู้อื่น และยอมรับ ในความแตกต่งหลายหลากของมนุษย์
 4.3 ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ดนตรี วรรณกรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ
 4.4 มีความสนใจ ด้านกีฬา และนันทนาการ
 4.5 สามารถวางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้และ พัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
- จัดกิจกรรมให้นักศึกษามี ปฏิสัมพันธ์กันในชั้นเรียนโดย การมอบหมายงานให้นักศึกษา
- ประเมินผลจากการเขียนรายงาน และการนำเสนองานมอบหมาย
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
5.1 ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการ ฟัง พูด อ่าน เขียน
5.2 วิเคราะห์เชิง ตัวเลขได้
5.3 ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือก ข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูล ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.5 สามารถระบุ เข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ
5.6 มีวิจารณญาณใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่เหมาะสม
5.7 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-ฝึกให้ทำโจทย์ในการ วิเคราะห์ค่าสถิติอุบัติเหตุ ได้แก่ อัตราความถี่ของการเกิด อุบัติเหตุ อัตราความรุนแรง ของการเกิดอุบัติเหตุ ค่าเซฟ ที สคอร์ เป็นต้น
-ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
- สอบกลางภาค และปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2,2.3,2.5,2.6, 3.2,3.3,3.5,3.6 1. สอบกลางภาค 2. การทดสอบย่อย 3. สอบปลายภาค 9 3,6,8,11,13,16- 17 20% 30% 20%
2 1.1,1.6, 4.1, 5.1,5.5, 6.1 1. การมีส่วนร่วมและสนใจ ในชั้นเรียน 2. การน าเสนองานและการ รายงาน 1-16 30%
วิทยา อยู่สุข.2549. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย.พิมพ์ครั้งที่3 .กรุงเทพฯ อนามัย (ธีรวิโรจน์) เทศกะทึก. 2549. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย.พิมพ์ครั้งที่ 1.โอ.เอส.พริ้ นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพฯ ณรงค์ ณ เชียงใหม่.2537.การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรม.พิมพ์ครั้งที่1.โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.กรุงเทพฯ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2548. เอกสารการสอนชุดวิชา หลักความปลอดภัยในการท างาน พิมพ์ครั้งที่ 11. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรุงเทพฯ.
www . shawpat . or . th / สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยในการท างาน . oshthai . org ส านัก ความปลอดภัยแรงงาน . diw . go . th / กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอนและวิธีการวัดผลการเรียนรู้ การ จัดกิจกรรมในการเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียน การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ความเหมาะสมและ การแสดงออกของผู้สอน เป็นต้น โดยใช้แบบประเมินผลการสอนรายวิชาของ มหาวิทยาลัย
2.1 ผู้สอนรายงานการสอนตามแบบของคณะวิศวกรรมศาสตร์ทุกภาคการศึกษา
2.2 ภาควิชามีการแต่งตั้งคณะท างานเพื่อท าการสรุปผลการประเมินการสอนของรายวิชา และแจ้งผล การประเมินให้อาจารย์ผู้สอนทราบ
ภาควิชาก าหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน ประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา และให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดท ารายงานผลการด าเนินงาน ของรายวิชาตามแบบ มคอ.5
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินความเหมาะสมของการตัดเกรดทุกภาคการศึกษา
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยน าผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษา และสรุปผลการประเมินจากคณะทำงานประเมินการสอนของหลักสูตรวิชา แจ้งแก่อาจารย์ผู้สอน เพื่อน าไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงการสอน ภาควิชามีการก าหนดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาน ารายงานผลการด าเนินงานของรายวิชาตามแบบ มคอ.5 มาทบทวนและน าไปประกอบการพิจารณา เพื่อปรับปรุงกลยุทธ์ เนื้อหา วิธีการสอนให้มีความ สอดคล้องและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นส าหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป