ประติมากรรมลอยตัวคนเหมือน

Realistic Human Figure Sculpture

1.  รู้ลำดับขั้นตอนและเข้าใจหลักการปั้นคนเหมือนจริงแบบเต็มตัว ในลักษณะลอยตัว

2.  ปฏิบัติงานปั้นคนเหมือนจริงแบบเต็มตัวพร้อมทั้งตรวจและแก้ไขด้วยตนเอง

3.  รู้ลำดับขั้นตอนเข้าใจหลักการ ทำแม่พิมพ์และหล่อด้วยวัสดุปูนปลาสเตอร์             

4. เห็นคุณค่างานประติมากรรมและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
 
ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนให้ทันเเละสอดคล้องต่อยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการสร้างผลงานประติมากรรมลักษณะลอยตัวในรูปแบบคนเหมือน เน้นการแสดงออกทางการปั้นรูปคนโดยศึกษาโครงสร้างลักษณะทางกายวิภาคจากแบบคน ทั้งในลักษณะใบหน้า,ครึ่งตัวและเต็มตัว รวมถึงการสร้างสรรค์อากัปกิริยาท่าทางต่างๆ ปฏิบัติด้วยวัสดุดินเหนียว
Study and practice sculpting realistic human figures. Focus onexpression in sculpting by studying the structures of human anatomy inaspects of facial features, half body, and full-body, including various gestures by using clay materials.
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาและแนะนำการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ลงมือปฏิบัติงาน 
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ 3  มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
1.2 วิธีการสอน
       พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่นและเพื่อนในชั้นเรียน  มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ 1.2.1   ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 1.2.2   มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2.3   มีความเป็นนักสร้างสรรค์ที่ดีมีคุณธรรมไม่ลอกเรียนหรือแอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง 1.2.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.2.5  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมเห็นคุณค่างานประติมากรรม รับผิดชอบและปฏิบัติงานตรงเวลา  
1.3 วิธีการประเมินผล
         การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน ลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา ตั้งใจในการศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยความสนใจ ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้   (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง   (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ   (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   (4) เน้น.มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
รู้ทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างทางกายวิภาคของคนและทฤษฎีการจัดองค์ประกอบรู้ลำดับขั้นตอนการปั้นประติมากรรมเหมือนจริงในรูปแบบเต็มตัวของคน  ปฏิบัติงานปั้นเหมือนจริงในรูปแบบเต็มตัวของคน  ตรวจและแก้ไขด้วยตนเอง
 ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือนจริง   จากแบบที่กำหนดให้ด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
พัฒนาความสามารถในการมองโดยการถ่ายทอดและสร้างสรรค์ผลงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน วิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือนจากแบบและถ่ายทอดออกมาด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง      และมีความคิดสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องในงานได้
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ (1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
4.2.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.2.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.2.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ตนเองสร้างสรรค์ให้ครบถ้วน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยการวิจารณ์ผลงานที่ได้ฝึกปฏิบัติ 4.3.2 ประเมินจากความร่วมมือในการร่วมมือกันดูแลและรักษาความสะอาดของพื้นที่ทำงานร่วมกัน 4.3.3 ประเมินจากการทำงานให้เสร็จได้ตามกำหนด 
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
5.2.1   ทักษะการฝึกการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมให้เหมือนต้นแบบ 5.2.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียนโครงงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.2.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานจากข้อมูลที่ได้ศึกษามา 5.2.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น จากตำรา และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.2.5   ทักษะในการนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
  ใช้วิธีการสอน ปฏิบัติการปั้นตามแบบที่กำหนด   ให้คำแนะนำแก้ไขปรับปรุงผลงานให้เหมือนแบบมากที่สุด    แนะนำให้ใช้เวลาว่างดูและศึกษาผลงานของประติมากรที่มีชื่อเสียงเพื่อดูเทคนิควิธีการของเขาแล้วนำมาปรับปรุงผลงานของตนเอง
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้เหมือนจากแบบและถ่ายทอดออกมาด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่าง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน (1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1 BFAVA187 ประติมากรรมลอยตัวคนเหมือน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 ทดสอบย่อย หน่วยที่ 1-3 ตรวจผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 70%
2 2 ทดสอบย่อย หน่วยที่ 4-ปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด - ตรวจสรุปผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด ปลายภาคการศึกษา 20%
3 3 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
๑. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก คมสันต์ คำสิงหา, 2550. ประติมากรรมคนเหมือน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทวาดศิลป์ จำกัด. มัย ตะติยะ, 2549. ประติมากรรมพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สิปประภา. มหาวิทยาลัยศิลปากร,2525.สมุดภาพประติมากรรมกรุงรัตนโกสินทร์.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ กราฟิคอาร์ต. สมคิด อินท์นุพัฒน์, 2539. กายวิภาคสำหรับผู้ศึกษาศิลปะ.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์” Charles Wentinck, 1974. MASTERPIECES OF ART 450 Treasures of Europe. New York: The Netherlands at Royal Smeets Offset bv. Weert. Friz Schider, 1957. AN ATLAS OF ANATOMY FOR ARTISIS. New York: Dover Publications,inc. Irene Korn, 1997. AUGUSTE RODIN Master of Sculpture. New York: Todtri Productions Limited. Claire Waite brown. The Sculpting Techniques Bible. Chartwell Book, inc ; New York., 2006. George M. Beylerian and Andrew Dent. Material Connection: The Global Resource of New and Innovative Materials for Aristech, Artists and Designers. First published in the United Kingdom; Thames & Hudson,Ltd., 2005. Louis Slobodkin. Sculpture Principles and Practice. Dover Publications, inc. New York,1973 Oliver Andrews. LIVING MATERRIALS: A Sculptor’s Handbook. First Paperback printing in the United States of America; University of California Press., 1988.
-ไม่มี-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
 
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
๓. การปรับปรุงการสอน - การศึกษากระบวนการเรียนการสอนภายในและนอกชั้นเรียน - การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา - ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร - ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
 
๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4