จิตวิทยาสำหรับครู

Psychology for Teacher

นำแนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับจิตวิทยา ไปประยุกต์ใช้เพื่อการแนะแนว ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพและความถนัดรายบุคคล สามารถให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
พัฒนาการประยุกต์หลักการทางจิตวิทยาเพื่อการแนะแนว ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพและความถนัดรายบุคคล สามารถให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับจิตวิทยาพื้นฐาน และจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษา ความแตกต่างระหว่างบุคคล การเรียนรู้การถ่ายโยงความรู้ เชาวน์ปัญญา การจูงใจผู้เรียน บุคลิกภาพและการปรับตัว ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา การประยุกต์หลักการทางจิตวิทยาเพื่อการแนะแนว ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพและความถนัดรายบุคคล สามารถให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  (4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม  2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น  3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา  (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา  (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ   (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน  2. อภิปรายกลุ่ม  3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี   (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม   (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม  (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม  (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม   (2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา  2. การออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา  2. ประเมินจากการออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 TEDCC805 จิตวิทยาสำหรับครู
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 5 16 20% 20%
2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2, 4.1 – 4.6, 5.3 - 5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 50%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
ภาวิดา  มหาวงศ์. 2560. จิตวิทยาสำหรับครู. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
- ข้อมูลจากครุสภา
- ข้อมูลจากกรมการอาชีวศึกษา
ตำราหรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ จิตวิทยา เช่น
- คัคนางค์  มณีศรี. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ช่อระกาการพิมพ์.
- จิราภรณ์  ตั้งกิตติภาภรณ์. (2557). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ชนาธิป  พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท วีพริ้นท์ (1991) จำกัด.
- ช่อลดา  ติยะบุตร. (2556). จิตวิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
- ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ .(2558). ศิลปะการสอนเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท วีพริ้นท์ (1991) จำกัด.
- ณัฐภร  อินทุยศ. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- เติมศักดิ์  คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
- นวลศิริ  เปาโรหิตย์. (2542). จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น Introduction to Social Psychology PC 263. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2558). การแนะแนวเพื่อพัฒนาผู้เรียน. สงขลา: บริษัท นำศิลป์โฆษณาจำกัด.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3. และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ