เทคโนโลยีแป้งจากธัญพืชและการประยุกต์ใช้

Cereal Starch Technology and Application

รู้เกี่ยวกับแป้งและสตาร์ชจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ เช่น ธัญพืช พืชหัว รู้และเข้าใจโครงสร้าง  ส่วนประกอบทางเคมี และสมบัติทางกายภาพของแป้ง รู้วิธีการผลิตแป้งและสตาร์ชจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ  รู้และเข้าใจการดัดแปรแป้งด้วยวิธีต่างๆ โครงสร้างและสมบัติของแป้งและแป้งดัดแปร  รู้และเข้าใจการใช้ประโยชน์จากแป้งและสตาร์ช ในอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมอื่นๆ รวมทั้ง การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร รู้และเข้าใจการนำผลพลอยได้จากส่วนเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตแป้งใช้ประโยชน์ เพื่อให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2. เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับแป้งและสตาร์ชจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ เช่น ธัญพืช พืชหัว โครงสร้าง  ส่วนประกอบทางเคมี และสมบัติทางกายภาพของแป้ง การผลิตแป้งและสตาร์ชจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ  การดัดแปรแป้งและสตาร์ช ลักษณะโครงสร้างและสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งดัดแปร การใช้ประโยชน์จากแป้งและสตาร์ช ในอุตสาหกรรมอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารประเภทต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เส้น ผลิตภัณฑ์ขนมอบ วิธีการเก็บรักษาเพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตภัณฑ์  ผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์ส่วนเหลือจากการแปรรูป      
Study and practice on the fundamental knowledge of flour and starch from various raw materials such as cereals and tubers; structure, chemical composition, physical properties of flour and starch; production of flour and starch from various raw materials; modification of flour and starch; structure and physicochemical properties of modified starches; utilization of flour and starch in food industry; production of various food products from cereals such as noodle and bakery products; changes in quality, deterioration and storage of cereal grains and cereal products; cereal byproducts and utilization of waste biomass.
    3.1  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
    3.2  สามารถติดต่ออาจารย์ผ่านโทรศัพท์  e-mail หรือ Line
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อ เช่น คอมพิวเตอร์ power point
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning)
3. เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทั้งใน/นอกมหาวิทยาลัยจัด
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2. มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
4. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ใช้ Power point วีดีโอ
2. การสอนแบบปฏิบัติ ในแหล่งเรียนรู้เฉพาะด้าน
3.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
2.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
3. สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
4. มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1.  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
4. มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
7. สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. ใช้  Power point
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง เช่น การคำนวณเพื่อเตรียมสารเคมี หรือ การนำเสนอการทดลองด้วย Power point
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การสอนแบบปฏิบัติ การในห้องทดลอง
2. ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ/ศูนย์เรียนรู้
ประเมินจากความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะพิสัย(Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT137 เทคโนโลยีแป้งจากธัญพืชและการประยุกต์ใช้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ความหมายและความสำคัญของแป้งและสตาร์ชจากธัญพืชและพืชหัว 1.3 ปฏิบัติการจำแนกลักษณะและชนิดของธัญพืชที่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจ 1.4 ปฏิบัติการศึกษาลักษณะของเมล็ดแป้งและสตาร์ช 2.1 โครงสร้าง ส่วนประกอบทางเคมีและการรวมตัวเป็นเม็ดแป้ง 2.2 สมบัติทางกายภาพของแป้ง 3.1 กระบวนการผลิตแป้งสาลี การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.1 ความหมายและความสำคัญของแป้งและสตาร์ชจากธัญพืชและพืชหัว 1.3 ปฏิบัติการจำแนกลักษณะและชนิดของธัญพืชที่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจ 2.1 โครงสร้าง ส่วนประกอบทางเคมีและการรวมตัวเป็นเม็ดแป้ง 2.3 ปฏิบัติการศึกษาปริมาณแอมิโลสของแป้ง 3.1 กระบวนการผลิตแป้งสาลี 3.2 กระบวนการผลิตแป้งข้าว 6.1 ผลพลอยได้จากการแปรรูปเมล็ดธัญพืชและพืชหัว - ประเภทของผลพลอยได้จากการแปรรูปเมล็ดธัญพืช - แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้ในการแปรรูปธัญพืช 6.2 การใช้ประโยชน์จากส่วนเหลือทิ้งจากการ แปรรูปเมล็ดธัญพืช - แกลบและผลิตภัณฑ์จากแกลบ - รำและผลิตภัณฑ์จากรำ 6.3 การใช้ประโยชน์จากส่วนอื่นๆของธัญพืช เช่น จมูกข้าว และ ข้าวหัก สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 และ 17 30% และ 30%
3 1.3 ปฏิบัติการจำแนกลักษณะและชนิดของธัญพืชที่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจ 1.4 ปฏิบัติการศึกษาลักษณะของเมล็ดแป้งและสตาร์ช 2.3 ปฏิบัติการศึกษาปริมาณแอมิโลสของแป้ง 2.4 ปฏิบัติการการศึกษาสมบัติของแป้ง 3.6 ปฏิบัติการการผลิตแป้ง (1) 3.7 ปฏิบัติการการผลิตแป้ง (2) 4.3 ปฏิบัติการการดัดแปรแป้ง (1) 4.4 ปฏิบัติการการดัดแปรแป้ง (2) 5.6 ปฏิบัติการการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว 5.7 ปฏิบัติการการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าวสาลี 5.8 ปฏิบัติการการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากธัญพืชและพืชหัวอื่นๆ 6.4 ปฏิบัติการการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้จากการแปรรูปธัญพืชและพืชหัว (1) 6.5 ปฏิบัติการการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้จากการแปรรูปธัญพืชและพืชหัว (2) 6.6 ปฏิบัติการการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้จากการแปรรูปธัญพืชและพืชหัว (3) ปฏิบัติการทดลอง, รายงานการทดลอง ทุกสัปดาห์ 20%
4 2.2 สมบัติทางกายภาพของแป้ง 3.1 กระบวนการผลิตแป้งสาลี 3.2 กระบวนการผลิตแป้งข้าว 4.1 ความหมายและความสำคัญของการดัดแปรแป้ง 4.2 ประเภท ลักษณะโครงสร้างและสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งดัดแปรของแป้งดัดแปร - การดัดแปรแป้งทางเคมี - การดัดแปรแป้งทางกายภาพ*การดัดแปรแป้งทางชีวภาพ 5.1 การใช้ประโยชน์แป้งในอุตสาหกรรมอาหาร 5.2 การใช้ประโยชน์แป้งในอุตสาหกรรมไม่ใช่อาหาร 5.3 การแปรรูปเป็นลิตภัณฑ์จากข้าว งานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 10%
กล้าณรงค์ ศรีรอต และ เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2543. เทคโนโลยีของแป้ง. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 292 หน้า
อรอนงค์  นัยวิกุล. 2532. ข้าวสาลี: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กราฟฟิคแอนด์ปริ้นติ้งเซ็น เตอร์, กรุงเทพฯ. 371 น.
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2547. ข้าว: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ
American Association of Cereal Chemists (AACC) .2002. Approved methods.  The Association, St. Paul Minnesota. 950 p
A0AC.  2005. Approved Method of the American Association of Cereal Chemists.  Vol.  I, II American of Cereal Chemists, Inc. st. Paul, Minnesota. 1,140
Hoseney, R.C. and Lineback, D.R. 1996. Methods of synthesis and characterization. In R.C.Hoseney (Ed.), AACC Short course on “Starch: Structure, Properties, and Food Uses
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจาก เวบไซต์ หรือ อินเทอร์เน็ต ตามความเหมาะสม
- รายงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีแป้งและผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากปีการศึกษาที่ผ่าน ๆ มา
- www.springerlink.com  www.sciencedirect.com  http://www.fda.moph.go.th และหนังสืออื่นๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้อง
1.1 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอนเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ตั้งคำถามระหว่างบรรยายเพื่อกระตุ้นการแสดงออกทางความคิด
1.4 ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนในแต่ละรายวิชา โดยให้หัวหน้าสาขาวิชน ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชา รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4.1 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2  สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป