วัสดุแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ

Materials of Fashion, Textile, and Jewelry

ศึกษาเกี่ยวกับประเภท ชนิด และแหล่งที่มาของวัสดุที่ใช้ในงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ การเลือกใช้และการนำวัสดุไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1. เพื่อผลิตบัณฑิตนักออกแบบ นักปฏิบัติ สาขา วิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการออกแบบและการผลิต การประกอบธุรกิจสร้างสรรค์ด้วยแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับบนรากฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนนำเทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า พัฒนาตนเองให้ก้าว หน้าอยู่เสมอ สามารถแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผล
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ สังคม และประเทศชาติ
ศึกษาเกี่ยวกับประเภท ชนิด และแหล่งที่มาของวัสดุที่ใช้ในงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ การเลือกใช้และการนำวัสดุไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
- นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามความต้องการ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา     1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา และจิตสำนึกสาธารณะ บรรยายเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพด้วยกิจกรรมจิตสาธารณะในห้องเรียน
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 1.3.2 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้ 1.3.3 พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา 2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ 3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน 3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
(1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม 4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม 4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานหน้าชั้น 4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมและผลงานของนักศึกษา 4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานหน้าชั้นเรียนโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ152 วัสดุแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.2 3.1 การสอบกลางภาคและปลายภาค 9 17 60%
2 6.1 6.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1 1.2 ความสนใจ การเข้าเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกาย การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด.(2541). วิทยาศาตร์สิ่งทอเบื้องต้น.กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์. 1.2 อัจฉราพร ไศละสูต.(2539). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ 1.3 Codina, C., 2005, The New Jewelry : Contemporary Materials & Techniques, New York, Lark Books. 1.4 Padilla, Y.M., 2010, Bronze Metal Clay : Explore a New Material with 35 Projects, Lark Jewelry. 1.5 Young, A., 2008, Jewellery Materials Sourcebook, London, A&C Black Visual Arts
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุสิ่งทอแฟชั่นและเครื่องประดับ
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 สังเกตการเรียน ความตั้งใจของนักศึกษา และการสอบถามของนักศึกษา 2.2 การอภิปราย การรายงาน การนำเสนอของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การตอบข้อสอบกลางภาคและปลายของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินแล้วเรียงลำดับความสำคัญ หาปัญหา และแนวทางแก้ไข 3.2 ประชุมผลและวางแผนการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นภาคเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียน รายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 4.2 การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือปรับวิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมอง วิธีการ และรายละเอียดเนื้อหาที่หลากหลายเหมาะสมและทันกับสภาวะปัจจุบั