การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง
Implementation of Advanced Spreadsheet
1.1 มีความรู้เกี่ยวกับสูตรคำนวณและเข้าใจการอ้างอิงเชื่อมโยงสูตรคำนวณ
1.2 มีความเข้าใจสูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่ และข้อความแบบซับซ้อน รวมทั้งการแก้ไขข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สูตร
1.3 มีทักษะการเรียงลำดับข้อมูล กรองข้อมูล สรุปข้อมูลทางสถิติ และตรวจสอบข้อมูลตามเงื่อนไข
1.4 มีทักษะการจัดการและการดูข้อมูล Pivot Table ในมิติต่างๆ ในรูปแบบกราฟและตาราง
1.5 มีความสามารถกำหนดค่าการรักษาความปลอดภัยของเซลล์ ชีท และไฟล์
1.6 วิเคราะห์ข้อมูลแบบ What-if การพยากรณ์แนวโน้ม และการสร้างสถานการณ์
1.7 มีทักษะการสร้างแมโครและประยุกต์ใช้แมโคร
1.2 มีความเข้าใจสูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่ และข้อความแบบซับซ้อน รวมทั้งการแก้ไขข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สูตร
1.3 มีทักษะการเรียงลำดับข้อมูล กรองข้อมูล สรุปข้อมูลทางสถิติ และตรวจสอบข้อมูลตามเงื่อนไข
1.4 มีทักษะการจัดการและการดูข้อมูล Pivot Table ในมิติต่างๆ ในรูปแบบกราฟและตาราง
1.5 มีความสามารถกำหนดค่าการรักษาความปลอดภัยของเซลล์ ชีท และไฟล์
1.6 วิเคราะห์ข้อมูลแบบ What-if การพยากรณ์แนวโน้ม และการสร้างสถานการณ์
1.7 มีทักษะการสร้างแมโครและประยุกต์ใช้แมโคร
เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง โดยสามารถเชื่อมโยงสูตร แก้ไขข้อผิดพลาดของสูตรคำนวณ การใช้สูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่และ ข้อความแบบซับซ้อน การเรียงลำดับและการกรองข้อมูล การสร้างตาราง Pivot การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ What-if รวมทั้งกำหนดค่าความปลอดภัยของเซลล์ ชีท และไฟล์ ตลอดจนการสร้างและนำมาโครไปประยุกต์ใช้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการใช้สูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่ และข้อความแบบซับซ้อน การเรียงลำดับ การกรอง การสรุปข้อมูลทางสถิติ การตรวจสอบข้อมูลตามเงื่อนไข การสร้างตาราง Pivot การดูข้อมูลในมิติต่าง ๆ ในรูปแบบกราฟและตาราง การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ What-if การพยากรณ์แนวโน้มและการสร้างสถานการณ์ การเชื่อมโยงสูตรและดูข้อผิดพลาดของสูตรคำนวณและแก้ไขข้อผิดพลาดของสูตร การกำหนดค่าการรักษาความปลอดภัยของเซลล์ ชีท และไฟล์ การสร้าง การรันแมโคร และการนำแมโครไปใช้ขั้นสูง
The study and practice of formula mechanism on numbers, dates and text, sorting, filtering and summary statistics data; verifying data based on conditions, creating a pivot table to view the data in various dimensions in the form of graphs and tables; what-if analysis to forecast trends and scenarios; linking formulas, checking on the error of the formula, and solving the formula errors; assigning security of cells, worksheets, and files; creating macro, running macros, and application of using advance macros.
The study and practice of formula mechanism on numbers, dates and text, sorting, filtering and summary statistics data; verifying data based on conditions, creating a pivot table to view the data in various dimensions in the form of graphs and tables; what-if analysis to forecast trends and scenarios; linking formulas, checking on the error of the formula, and solving the formula errors; assigning security of cells, worksheets, and files; creating macro, running macros, and application of using advance macros.
1 ชั่งโมง
- มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
- มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
- มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
- ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
- ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
- อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
- ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
- อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
- การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
- การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
- ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
- การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
- ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
- มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
- มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
- มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
- จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
- จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
- ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
- การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
- จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
- ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
- การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
- ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
- ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
- ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
- ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
- ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
- ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
- ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
- ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
- สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
- สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
- สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
- จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา
- การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
- การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
- การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
- การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
- ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
- ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
- ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
- ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
- มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
- มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
- มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
- จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
- มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
- จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
- มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
- การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
- พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
- สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
- พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
- สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
- สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
- มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
- สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
- มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
- สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
- สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
- มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
- ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
- ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
- สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
- ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | BBAIS807 | การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2, 1.3, 2.1, 2.2, 2.9, 3.1, 4.4, 4.6, 5.2, 5.4, 5.5, 6.2 | - ฝึกปฏิบัติ และ Workshop การใช้งาน Excel ในแต่ละ Module | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
2 | 1.3, 2.1, 2.2, 2.9, 3.1, 4.4, 5.4, 5.5 | สอบกลางภาค | 8 | 30% |
3 | 1.3, 2.1, 2.2, 2.9, 3.1, 4.4, 5.4, 5.5 | สอบปลายภาคเรียน | 17 | 30% |
4 | 1.2, 1.3, 4.4, 4.6 | การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา พฤติกรรมการเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1. กองบรรณาธิการ. (2564). สร้างตารางงานและบริหารข้อมูลด้วย Excel 2019 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
2. จักรทิพย์ ชีวพัฒน์. 2562. คู่มือใช้งาน สูตร และฟังก์ชัน Excel ฉบับสมบูรณ์ 3rd Edition. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
3. ณาตยา ฉาบนาค. (2562). รวมสูตรและฟังก์ชัน Excel Advance Formula 2016. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ลัคกี้บุ๊คส์.
4. ดวงพร เกี๋ยงคำ. (2562). Excel Expert Skills รวมเทคนิคและประสบการณ์ขั้น Advance จากมืออาชีพ ตัวจริง. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
5. ดวงพร เกี๋ยงคำ. (2560). คู่มือใช้งาน Excel 2016 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
6. นันทนี แขวงโสภา. (2562). สอนใช้ Excel ให้เป็นเซียน ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: บริษัทโปรวิชั่น จำกัด.
7. นันรณา จำลอง. (2562). Excel Functions. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน.
8. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, มณีนุช สมานหมู่. (2564). รวมเทคนิคและทางลัดใช้งาน Excel Techniques + Shortcuts. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
9. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, มณีนุช สมานหมู่. (2564). วิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมากด้วย Excel Pivot Table + Data Analysis ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
10. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, อัมรินทร์ เพ็ชรกุล. (2562). สร้างตารางงานและบริหารข้อมูลด้วย Excel 2016 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
11. สุเทพ โลหณุต. (2562). พื้นฐาน + ประยุกต์ใช้ PivotTable + PivotChart ใน MS Excel. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิตตี้กรุ๊ป.
2. จักรทิพย์ ชีวพัฒน์. 2562. คู่มือใช้งาน สูตร และฟังก์ชัน Excel ฉบับสมบูรณ์ 3rd Edition. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
3. ณาตยา ฉาบนาค. (2562). รวมสูตรและฟังก์ชัน Excel Advance Formula 2016. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ลัคกี้บุ๊คส์.
4. ดวงพร เกี๋ยงคำ. (2562). Excel Expert Skills รวมเทคนิคและประสบการณ์ขั้น Advance จากมืออาชีพ ตัวจริง. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
5. ดวงพร เกี๋ยงคำ. (2560). คู่มือใช้งาน Excel 2016 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: บริษัทไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.
6. นันทนี แขวงโสภา. (2562). สอนใช้ Excel ให้เป็นเซียน ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: บริษัทโปรวิชั่น จำกัด.
7. นันรณา จำลอง. (2562). Excel Functions. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน.
8. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, มณีนุช สมานหมู่. (2564). รวมเทคนิคและทางลัดใช้งาน Excel Techniques + Shortcuts. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
9. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, มณีนุช สมานหมู่. (2564). วิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมากด้วย Excel Pivot Table + Data Analysis ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
10. พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร, อัมรินทร์ เพ็ชรกุล. (2562). สร้างตารางงานและบริหารข้อมูลด้วย Excel 2016 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิมพลิฟาย.
11. สุเทพ โลหณุต. (2562). พื้นฐาน + ประยุกต์ใช้ PivotTable + PivotChart ใน MS Excel. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิตตี้กรุ๊ป.
-
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากการสอนในครั้งที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษามีทักษะในการใช้โปรแกรมคำนวณชั้นพื้นฐานอยุ่ในระดับน้อย จึงต้องจัดการสอนเสริมการใช้โปรแกรมคำนวณเบื้องต้นไปพร้อมๆ กับการเรียนในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ