แคลคูลัส 1 สำหรับวิศวกร

Calculus 1 for Engineers

เข้าใจฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง แก้ปัญหาการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  รูปแบบยังไม่กำหนด  และการประยุกต์ของอนุพันธ์ เข้าใจการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงและเทคนิคการหาปริพันธ์ แก้ปัญหาปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต เห็นความสำคัญของการนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ  และสามารถแก้ปัญหาทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ได้ด้วยตนเอง
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
2. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  รูปแบบยังไม่กำหนด การประยุกต์ของอนุพันธ์ การหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  เทคนิคการหาปริพันธ์  การประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ  2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ให้ความสำคัญในวินัย  การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม  และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่าง ๆ ในชั้นเรียน
การขานชื่อ  การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน  และการส่งงานตรงเวลา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง   โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง  การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  รูปแบบยังไม่กำหนด การประยุกต์ของอนุพันธ์ การหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง  เทคนิคการหาปริพันธ์  การประยุกต์ของปริพันธ์จำกัดเขต สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน ใช้การสอนหลายรูปแบบ  โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ มอบหมายให้ทำงาน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน   
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน มอบหมายให้ทำงาน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานเป็นกลุ่ม  โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ  และผู้นำเสนอ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2. กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน  โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
1. พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2. พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNMA105 แคลคูลัส 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 5%
2 1.1.1, 1.1.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบกลางภาค 9 30%
4 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบปลายภาค 18 30%
5 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบย่อย 5 10%
6 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบย่อย 11 10%
7 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.3, 5.1.2 แบบึกหัดและงานที่มอบหมาย 2-8, 11-16 10%
      -  “แคลคูลัส  1 สำหรับวิศวกร”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
      -  เอกสารประกอบการสอน 
ไม่มี
-  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  คณะวิทยาศาสตร์  ภาควิชาคณิตศาสตร์, “แคลคูลัส 1”,    พิทักษ์การพิมพ์, กรุงเทพฯ, 2542
- ทศพร  จันทร์คง และสิรินาฏ  สุนทรารัณย์, “แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 1”,      คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2542